Page 160 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 160

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ปีที� ๔๘ ฉบัับัที� ๒ พัฤษภาคม-สิิงหาคม ๒๕๖๖

               148                                         การพััฒนาและการประยุุกต์์ใช้้พัอลิเมอร์ฐานกลีเซอรอลและไทรกลีเซอไรด์์




              ต์ารางที� ๒ สมบัติทางกายภาพ-เคมีของกลีเซอรัอล



               น้�าหนักโมเลกุล   ๙๒.๐๙                          คุวามถุ�วงจำเพัาะ  ๑.๒๖๒๐ (๒๕  ซ.)
                                                                                           °
                                                                                  ๒ ๐
               คุวามร้อนจำเพัาะ  ๐.๕๗๘๕ แคลอรัีต่อกรััม (๒๖  ซ.)  ด์ัช้นีคุวามหักเห  (N ) ๑.๔๗๓๙๙
                                                       °
                                                                                  ๔
               คุวามด์ันไอ       ๐.๐๐๒๕ มม.ป็รัอท (๕๐  ซ.)      จุด์ต์ิด์ไฟิ    ๒๐๔  ซ.
                                                    °
                                                                                     °
               จุด์เด์ือด์       ๒๙๐  ซ. (๗๖๐ มม.ป็รัอท)        จุด์วาบไฟิ      ๑๗๗  ซ.
                                                                                     °
                                     °
               จุด์หลอมเหลว      ๑๘.๑๗  ซ.                      คุวามหนืด์      ๑.๔๙๙ พาสคัล-วินาที (๒๐ ซ.)
                                       °
                                                                                                    °
               จุด์เยุือกแข็็ง   (รั้อยละ ๖๖.๗ สารัละลาย กลีเซอรัอล)  แรงต์ึงผิิว  ๖๓.๔ ไดน์ต่อซม. (๒๐ ซ.)
                                                                                                 °
                                 -๔๖.๕  ซ.
                                      °
              การผิลิต์กลีเซอรอลด์ิบ
                      กลีเซอรัอล (หรัือ กลีเซอรัีน, glycerin) มีชีื�อเรัียกในรัะบบสากล IUPAC คือ โพรัเพน-๑,๒,๓-ไทรัออล

              (propane-1,2,3-triol) สูตรัเคมี C H (OH)  พบได้ทั�วไป็ในไขมันและน้�ามันตามธัรัรัมชีาติในรัูป็ของเอสเตอรั์
                                            2 5
                                                   3
              ของกรัดไขมันและไทรักลีเซอไรัด์ (Miner, 1953: 1; Soap and Detergent Association, 1990: 27;
              Niu, 2011; 71) จากการัเติบโตและขยายตัวอย่างรัวดเรั็วของอุตสาหกรัรัมผลิตไบโอดีเซล (US Energy
              Informa- tion Administration, 2022) ทำให้ได้กลีเซอรัอลดิบเป็็นผลิตภัณฑ์์พลอยได้ที�เกิดจากกรัะบวนการั

              ผลิตไบโอดีเซลดังกล่าวในป็รัิมาณมากโดยป็รัะมาณว่ารั้อยละของน้�ามันไบโอดีเซลที�ผลิตได้จะมีกลีเซอรัอลเกิด
              ข่�นมารั้อยละ ๑๐ กลีเซอรัอลเป็็นผลิตผลจากไขมันและน้�ามันเป็ลี�ยนรัูป็มาจากกรัะบวนการัแซพอนิฟิิเคชีัน

              (saponification) ไฮโดรัไลซิส หรัือ แทรันส์เอสเตอรัิฟิิเคชีัน (transesterification) ของไทรักลีเซอไรัด์
              (Pirzadi; 2022: 125044) กลีเซอรัอลยังสามารัถุผลิตได้จากคารั์โบไฮเดรัตโดยการัหมักด้วยจุลชีีพ แต่ยังไม่

              นิยมในรัะดับอุตสาหกรัรัมเมื�อเทียบกับการัสังเครัาะห์ทางเคมี แม้ว่าจะผลิตกลีเซอรัอลดิบได้ในป็รัิมาณมาก
              แต่กลีเซอรัอลที�ได้มักมีสมบัติทางเคมีหลากหลาย กลีเซอรัอลละลายในน้�าและแอลกอฮอล์ได้ดี จ่งนำไป็ใชี้

              ป็รัะโยชีน์ได้หลายรัูป็แบบ เชี่น ใชี้เป็็นส่วนผสมในเครัื�องสำอาง ผลิตภัณฑ์์ทำความสะอาด สบู่ แต่มีข้อจำกัด
              ของกลีเซอรัอลดิบเกี�ยวกับความบรัิสุทธัิ� กล่าวคือ พบการัป็นเป็้�อนของเมทานอลและกรัดไขมันที�ได้จาก

              กรัะบวนการัผลิตไบโอดีเซล ดังนั�น งานวิจัยและพัฒนาส่วนหน่�งก็คือ การัแยกกลีเซอรัอลดิบที�ได้ให้มีความ
              บรัิสุทธัิ�มากข่�นด้วยการักลั�นแยก (distillation) หรัือการัแลกเป็ลี�ยนไอออน (ion exchange) ให้ได้กลีเซอรัอล

              บรัิสุทธัิ�ซ่�งมีรัาคาสูง สามารัถุนำไป็ใชี้เป็็นวัตถุุดิบสำหรัับการัสังเครัาะห์สารัพอลิเมอรั์ชีนิดอื�นต่อไป็ (Pagliaro,
              2010: 1-25; Leoneti, 2012: 138; Goyal, 2021: 911)

                      กรัะบวนการัผลิตไบโอดีเซล มี ๔ กรัะบวนการัหลัก ได้แก่
                      (๑)  การัแป็รัสภาพเป็็นแก๊ส (gasification) เป็็นกรัะบวนการัเป็ลี�ยนมวลชีีวภาพเป็็นเมทานอลและ

              การัเป็ลี�ยนแป็ลงสถุานะจากของแข็งหรัือแก๊สเป็็นของเหลว (liquefaction)
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165