Page 159 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 159

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีที่ี� ๔๘ ฉบัับัที่ี� ๒ พฤษภาคุม-สิงหาคุม ๒๕๖๖

                      รองศาสตราจารย์์ ดร.ร่�งกานต์  น่�ย์สินธุ์่์ และศาสตราจารย์์กิตติคุ่ณ ดร.ส่ดา  เกีย์รติกำจรวงศ์    147



                    โมเลกุลเดี�ยว ใชี้ยีสต์เป็ลี�ยนกลูโคสเป็็นเอทานอลได้ ส่วนเฮมิเซลลูโลสซ่�งมีโครังสรั้างอสัณฐานป็รัะกอบด้วย

                    มอนอเมอรั์ของน้�าตาลหลายชีนิด ได้แก่ แอรัาบิโนส (arabinose) แมนโนส (mannose) กาแล็กโทส
                    (galactose) กลูโคส (glucose) และไซโลส (xylose) เฮมิเซลลูโลสถุูกย่อยสลายได้เป็็นน้�าตาลโมเลกุลเดี�ยว

                    โดยเอนไซม์ แต่ไซโลสไม่เกิดการัหมักต่อโดยยีสต์เหมือนกลูโคส ส่วนลิกนินเป็็นพอลิเมอรั์ที�เป็็นองค์ป็รัะกอบ หลัก
                    ในพืชี ทำหน้าที�เป็็นโครังสรั้างให้ความแข็งแรัง มีหน่วยย่อยเป็็นแอโรัแมติกส์ของฟิีนิลโพรัพีนิล (phenyl

                    propenyl) มีความเสถุียรั มีค่าความรั้อนสูง นิยมเป็ลี�ยนรัูป็และใชี้เป็็นพลังงาน การัเป็ลี�ยนรัูป็มวลชีีวภาพ
                    (biomass conversion) เป็็นสารัเคมีผ่านกรัะบวนการัต่าง ๆ ทั�งชีีวเคมี ความรั้อน และสารัเคมี วิธัีการัที�รัู้จักโดย

                    ทั�วไป็  คือ การัเป็ลี�ยนกลุ่มลิกโนเซลลูโลสให้เป็็นเยื�อกรัะดาษ การัเป็ลี�ยนรัูป็วัตถุุดิบมวลชีีวภาพเป็็น
                    สารัในกลุ่มโอลิโอเคมิคอล (oleo-chemicals) ผ่านกรัะบวนการัผลิตไบโอรัีไฟิเนอรัี (biorefinery) ที�เกี�ยวข้อง

                    กับการัเป็ลี�ยนแป็ลงองค์ป็รัะกอบของไขมันพืชีและสัตว์ ผลผลิตสำคัญที�ได้คือ ไขและไขมัน กรัดไขมัน อนุพันธั์
                    ของไขมันและกลีเซอรัอล ซ่�งสารัชีนิดหลังมีการัพัฒนาให้ใชี้ป็รัะโยชีน์ได้มากข่�น เนื�องจากเป็็นของเหลือที�มี

                    ป็รัิมาณมากและรัาคาถุูก ได้จากกรัะบวนการัผลิตไบโอดีเซลในรัูป็ของผลิตภัณฑ์์พลอยได้



                    ต์ารางที� ๑ แหล่งที�มาของมวลชีีวภาพ



                       วัต์ถุุด์ิบต์ั�งต์้น   องคุ์ประกอบสำคุัญทางเคุมี                   พัืช้หลัก

                     น้�ามันพืชี      กรัดไขมันและไทรักลีเซอไรัด์             ถุั�วเหลือง แคโนลา (canola)
                     น้�าตาลและแป็้ง  เฮกโซส ไดแซ็กคาไรัด์และพอลิแซ็กคาไรัด์  อ้อย ข้าวโพด ข้าวบารั์เลย์ หัวบีต

                     ลิกโนเซลลูโลส    ลิกนิน เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส            ไม้ ลำตันของธััญพืชี หญ้า



                    กลีเซอรอลและลักษณะทางเคุมี
                           กลีเซอรัอล (glycerol) หรัือ ๑,๒,๓-โพรัเพนไทรัออล (-1,2,3propanetriol) เป็็นสารัที�ไม่มีสี

                    ไม่มีกลิ�น และมีความหนืด (Zhang, 2014: 1907) สมบัติทางกายภาพและเคมีได้แสดงในตารัางที� ๒ กลีเซอรัอล
                    ได้จากทั�งกรัะบวนการัทางธัรัรัมชีาติและทางป็ิโตรัเคมี (Pirzadi, 2022: 125044) โครังสรั้างทางเคมีของ

                    กลีเซอรัอลมีหมู่ฟิังก์ชีันไฮดรัอกซิล (–OH) จำนวน ๓ หมู่ แสดงดังภาพที� ๑




                                                                OH
                                                        HO            OH


                                                    ภาพัที� ๑ โครังสรั้างของกลีเซอรัอล
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164