Page 158 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 158
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีที� ๔๘ ฉบัับัที� ๒ พัฤษภาคม-สิิงหาคม ๒๕๖๖
146 การพััฒนาและการประยุุกต์์ใช้้พัอลิเมอร์ฐานกลีเซอรอลและไทรกลีเซอไรด์์
บทคุัด์ยุ�อแบบกราฟิิก
บทนำมวลช้ีวภาพัและแหล�งที�มา
มวลชีีวภาพ (biomass) เป็็นสารัอินทรัีย์ที�เป็็นแหล่งกักเก็บพลังงานจากธัรัรัมชีาติ สารัอินทรัีย์
มวลชีีวภาพที�นำมาใชี้เป็็นพลังงาน มีแหล่งที�มาได้ ๒ แหล่งคือ สารัอินทรัีย์ที�มาจากพืชีหรัือสัตว์ มวลชีีวภาพ
ที�มีป็รัิมาณมากสุด คือ เซลลูโลสในไม้ ผลผลิตทางการัเกษตรัและของเหลือทิ�ง ไขมันสัตว์ ของเสียและ
มูลสัตว์ ของเสียจากชีุมชีน (Gerpen, 2010: 141-162) การัใชี้ป็รัะโยชีน์จากมวลชีีวภาพทำได้หลายรัูป็แบบ
เชี่น พลังงานทดแทนพลังงานที�ได้จากเชีื�อเพลิงฟิอสซิลได้จัดเป็็นพลังงานหมุนเวียนที�สำคัญชีนิดหน่�ง เนื�องจาก
มวลชีีวภาพสามารัถุเกิดทดแทนได้ภายในรัะยะเวลาสั�น มวลชีีวภาพนำมาใชี้โดยตรังในรัูป็ของเชีื�อเพลิง
มวลชีีวภาพเป็ลี�ยน เป็็นพลังงานได้จากการัเผาไหม้ แป็รัเป็ลี�ยนสภาพเป็็นของแข็ง ของเหลวหรัือเป็ลี�ยนรัูป็เป็็น
ไบโอดีเซล ตัวอย่างของแหล่งมวลชีีวภาพดังแสดงในตารัางที� ๑ องค์ป็รัะกอบทางเคมีของมวลชีีวภาพจาก
แต่ละแหล่งมีความหลากหลายตามแหล่งกำเนิดตั�งต้น นอกจากนี� มวลชีีวภาพยังสามารัถุนำมาใชี้งานทางอ้อม
ได้ เชี่น สารัเคมี สารัตั�งต้น พอลิเมอรั์หรัือวัสดุอื�น ๆ
มวลชีีวภาพที�มีศัักยภาพในการัพัฒนาเพื�อใชี้ป็รัะโยชีน์ด้านเคมี สารัตั�งต้นและวัสดุมีสองกลุ่ม กลุ่มแรัก
คือ กลุ่มแป็้งและพอลิแซ็กคาไรัด์ได้มาจากองค์ป็รัะกอบในธััญพืชี เชี่น ข้าวโพด ข้าวบารั์เลย์ แป็้งเป็ลี�ยนรัูป็
เป็็นน้�าตาลโมเลกุลเล็กโดยป็ฏิิกิรัิยาการัแตกสลายด้วยน้�า (hydrolysis) หรัือป็ฏิิกิรัิยาไฮโดรัไลซิสด้วยสารัเคมี
หรัือเอนไซม์ เพื�อเป็็นผลผลิตทางอาหารั เทคโนโลยีชีีวภาพและอื�น ๆ สามารัถุนำแป็้งไป็สังเครัาะห์เป็็นพอลิเมอรั์
อื�นได้โดยตรัง (Lanthong, 2006: 230) โดยผ่านกรัะบวนการัดัดแป็รัทั�งทางเคมีและกายภาพ
มวลชีีวภาพกลุ่มที�สอง คือ กลุ่มลิกโนเซลลูโลส (lignocellulose) ถุือว่ามีป็รัิมาณมากที�สุด องค์ป็รัะกอบ
หลัก ได้แก่ เซลลูโลส ลิกนิน และเฮมิเซลลูโลส ป็รัิมาณของแต่ละองค์ป็รัะกอบข่�นกับชีนิดพืชี โครังสรั้างใน
แต่ละส่วนของพืชี และการัป็ลูก เซลลูโลสและเฮมิเซลลูโลสเป็็นพอลิเมอรั์สายโซ่ตรัง มีขนาดโมเลกุลใหญ่
ป็รัะกอบด้วยอะตอมคารั์บอน ไฮโดรัเจน และออกซิเจน หน่วยย่อยของเซลลูโลสคือ กลูโคสมีคารั์บอน ๖ อะตอม
ในหน่วยย่อย เฮมิเซลลูโลสมีคารั์บอนในหน่วยย่อย ๕ อะตอม (ในพืชีบางชีนิดก็มีคารั์บอน ๖ อะตอมใน
หน่วยย่อย) ทำลายพันธัะไกลโคซิดิกได้ด้วยการัไฮโดรัไลซิส โดยใชี้สารัเคมีหรัือเอนไซม์ ได้ผลผลิตเป็็นน้�าตาล