Page 119 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 119

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีท่� ๔๘ ฉบัับัท่� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖

                      ศาสตราจารย์์ นาย์แพทย์์สัญญา  สุขพณิิชนันท์                                          107



                           -  หน่วยงานชันสูตร์โร์คสัตว์ กำแพงแสน คณะสัตวแพทยศาสตร์์ มหาวิทยาลัยเกษตร์ศาสตร์์

                              (Kamphaeng Saen Veterinary Diagnostic Center, Faculty of Veterinary Medicine,
                              Kasetsart University)

                           -  ศูนย์ชันสูตร์โร์คสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Center of Veterinary
                              Diagnosis and Technology Transfer, Chiang Mai University)

                           -  ศูนย์บร์ิการ์ชันสูตร์โร์คสัตว์ คณะสัตวแพทยศาสตร์์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร์ (Veterinary
                              Diagnostic Center, Faculty of Veterinary Medicine, Mahanakorn University of

                              Technology)



                    เวชศาสตร์์ชันสูตร์ไม่ได้�จำกัด้อยู่ท่�ห�องปฏิบัติการ์อ่กต่อไป
                           คำว่า “เวชศาสตร์์ชันสูตร์” ในตอนแร์กใช้สำหร์ับคำว่า “laboratory medicine” แต่ในปัจุจุุบัน มีวิชา

                    ช่�อ “Investigative Medicine” ซึ่้�งน่าจุะตร์งกับช่�อ “เวชศาสตร์์ชันสูตร์” มากกว่า โดยคำว่า “investigate”
                    ในทางนิติศาสตร์์ หมายถ้ง สอบสวน ส่บสวน และคำว่า “investigation” ศัพท์นิติศาสตร์์สำนักร์าชบัณฑิิตยสภา

                    บัญญัติไว้ว่า “การ์ส่บสวน” แต่ในทางแพทย์แล้ว หมายถ้ง “ชันสูตร์” ตามที�ปร์ากฏในคลังศัพท์ไทยขึ้องสำนักงาน
                    พัฒนาวิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในปัจุจุุบันนี� มีแผู้นกหร์่อภาควิชา investigative

                    medicine เช่น Investigative Medicine Division, Radcliffe Department of Medicine, University of
                    Oxford หร์่อ Department of Investigative Medicine, Homer Stryker M.D. School of Medicine

                    มีหลักสูตร์ Investigative Medicine เช่น Investigative Medicine Program ที�จุัดสอนโดยภาควิชา
                    Internal Medicine, Yale School of Medicine เป็นหลักสูตร์ปร์ิญญาดุษฎีบัณฑิิตขึ้อง Yale Graduate

                    School of Arts and Sciences นอกจุากนี� ยังมีวาร์สาร์ที�มีช่�อ “investigative medicine” อยู่ เช่น Journal
                    of Investigative Medicine หร์่อ Clinical and Investigative Medicine



                    สร์ุป

                           ไม่ว่าเวชศาสตร์์ชันสูตร์จุะมีความหมายอย่างไร์ ตามที�ได้แสดงมาขึ้้างต้น จุะเห็นความชัดเจุนได้ปร์ะการ์
                    หน้�ง ค่อ ความเกี�ยวขึ้้องกับการ์ชันสูตร์หร์่อการ์วินิจุฉััยโร์ค ซึ่้�งเป็นเร์่�องทางแพทย์ แม้ว่าดั�งเดิมจุะใช้เป็นช่�อ

                    เร์ียกแทนคำว่า “พยาธิิวิทยาคลินิก” เพ่�อให้แตกต่างจุาก “พยาธิิวิทยากายวิภาค” และอาจุจุะป้องกันไม่ให้เกิด
                    ความเขึ้้าใจุผู้ิดในช่�อขึ้อง “พยาธิิวิทยา” เพร์าะไม่ได้เกี�ยวขึ้้องกับเร์่�องตัวพยาธิิดังที�คนทั�วไปมักเขึ้้าใจุผู้ิด

                    [หมายเหตุ : ผูู้้สนใจุสามาร์ถอ่านเร์่�อง “พยาธิิวิทยา (Pathology)”-คำที�ไม่ปร์ากฏในพจุนานุกร์มไทย และเร์่�อง
                    “พยาธิิ (ความเจุ็บไขึ้้)” หร์่อ “พยาธิิ (ปร์สิต)”-ความสับสนที�ยังคงอยู่ ที�ผูู้้นิพนธิ์ได้ตีพิมพ์ไว้นานแล้วได้ใน

                    Siriraj Medical Journal เม่�อ พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้] (สัญญา, ๒๐๐๕) ในฐานะที�ผูู้้นิพนธิ์ได้ร์ับแต่งตั�งเป็นภาคี
                    สมาชิก ร์าชบัณฑิิตยสภา สำนักวิทยาศาสตร์์ ปร์ะเภทวิชาแพทยศาสตร์์และทันตแพทยศาสตร์์ สาขึ้าวิชา
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124