Page 106 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 106

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม-สิิงหาคม ๒๕๖๖

               94



                       เวชศาสตร์์ชันสูตร์-ชันสูตร์โร์ค-การ์วินิจฉััยโร์ค






                                                           ศาสตร์าจาร์ย์ นายแพทย์สัญญา  สุขพณิิชนันท์
                                                                            ภาคีีสมาชิิก สำนัักวิิทยาศาสตร์์

                                                                                         ร์าชิบััณฑิิตยสภา




                บทคััดย่่อ


                                    “เวชศาสตร์์ชันสูตร์” ปร์ากฏขึ้้�นคร์ั�งแร์กโดยเป็นช่�อภาควิชาหน้�งขึ้องคณะ

                             แพทยศาสตร์์ จุุฬาลงกร์ณ์มหาวิทยาลัย มีหัวหน้าภาควิชาคนแร์ก (พ.ศ. ๒๕๑๕-๒๕๑๙)
                             ค่อ ศาสตร์าจุาร์ย์ นายแพทย์เชวง  เดชะไกศยะ “เวชศาสตร์์ชันสูตร์” เป็นช่�อวิชาเกี�ยว

                             กับพยาธิิวิทยาคลินิก ซึ่้�งเป็นสาขึ้าหน้�งขึ้องวิชาพยาธิิวิทยา และคำว่า “เวชศาสตร์์” ปร์ากฏ
                             ในวิชาย่อยขึ้องการ์แพทย์หลายแขึ้นง ส่วนคำว่า “ชันสูตร์” มีใช้มานานแล้วทางนิติศาสตร์์

                             และปร์ากฏเป็นคร์ั�งแร์กในส่วนที�แพทย์เกี�ยวขึ้้องด้วย ค่อ พร์ะร์าชบัญญัติชันสูตร์พลิกศพ
                             พ.ศ. ๒๔๕๗ ซึ่้�งแพทย์ปร์ะจุำตำบลร์่วมทำหน้าที�เป็นเจุ้าพนักงานที�มีอำนาจุชันสูตร์พลิกศพ

                             คนหน้�งร์่วมกับเจุ้าพนักงานทางมหาดไทยและตุลาการ์ ส่วนคำว่า “ห้องชันสูตร์โร์ค” หร์่อ
                             “สถานชันสูตร์โร์ค” มีหลักฐานว่าเป็นช่�อเร์ียกขึ้องคำว่า “laboratory” ในบทความที�เขึ้ียน

                             โดยพร์ะบำร์าศนร์าดูร์ ในหนังส่ออนุสร์ณ์กร์ะทร์วงสาธิาร์ณสุขึ้ คร์บ ๑๕ ปี เม่�อ
                             พ.ศ. ๒๕๐๐ ส่วนคำว่า “การ์วินิจุฉััยโร์ค” ซึ่้�งหมายถ้ง “diagnosis” นั�นมีหลักฐานเป็นคร์ั�งแร์ก

                             ในจุดหมายเหตุทางแพทย์ขึ้องสภากาชาดสยาม (ปัจุจุุบันค่อ จุดหมายเหตุทางแพทย์
                             แพทยสมาคมแห่งปร์ะเทศไทยฯ) เม่�อ พ.ศ. ๒๔๖๒ โดยนายแพทย์กำจุร์ พลางกูร์

                             (พร์ะอัพภันตร์าพาธิพิศาล) ร์าชบัณฑิิตกิตติมศักดิ�
                                    เวชศาสตร์์ชันสูตร์ในปัจุจุุบันมีความหมายกว้างขึ้วางมากขึ้้�น โดยสามาร์ถใช้

                             เทคโนโลยีใดก็ได้ในการ์ชันสูตร์เพ่�อให้วินิจุฉััยโร์คได้ถูกต้องแม่นยำมากขึ้้�น ตลอดจุนขึ้้อมูล
                             ต่าง ๆ ที�เกี�ยวขึ้้องกับการ์ดูแลร์ักษาผูู้้ป่วยให้ดียิ�งขึ้้�น ในขึ้ณะที�มีการ์ใช้คำว่า “ชันสูตร์โร์ค”

                             ในความหมายขึ้อง “การ์วินิจุฉััยโร์ค” มากยิ�งขึ้้�นโดยเฉัพาะอย่างยิ�งทางสัตวแพทยศาสตร์์


                             คัำสำคััญ : เวชศาสตร์์ชันสูตร์ ชันสูตร์โร์ค วินิจุฉััยโร์ค
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111