Page 91 - วารสาร 48-1
P. 91

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
             รองศาสตราจารย์์ ดร.นววรรณ พัันธุุเมธุา                                           81


                     วิตกี่วิจั�รณ์

                     เหตุใด้จั่งเติมีท้ายคำำา วิตกู เป็น วิตกูวิจัารณ์

                     วิตกู และ วิจัารณ์ ต่างเป็นหน่�งในอื่งคำ์ฌาน
                     ใน พจนัานัุกรมพุทธ์ศิาสำนั์ ให้คำวามีหมีายขอื่ง วิตกู ว่า คำวามีตร่กู, กูารยกูจัิตข่�นสีู่่อื่ารมีณ์
             และให้คำวามีหมีายขอื่ง วิจัาร ว่า คำวามีตรอื่ง, กูารพิจัารณาอื่ารมีณ์ ทั�งยังให้คำวามีหมีายขอื่ง ฌาน

             ว่า

                       ฌ�น           กูารเพ่งอื่ารมีณ์จันใจัแน่วแน่เป็นอื่ัปปนาสี่มีาธิ, ภาวะจัิตสี่งบประณีต
                                     ซ้ำ่�งมีีสี่มีาธิเป็นอื่งคำ์ธรรมีหลักู; ฌาน ๔ คำ่อื่
                                     ๑. ปฐมีฌาน มีีอื่งคำ์ ๕ (วิตกี่ วิจั�ร ปีติ สีุ่ข้ เอกี่ัคำคำต�)...

                                                         [พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), ๒๕๓๑ : ๖๐]

                     วิตกู กูับ วิจัาร ต่างเป็นหน่�งในอื่งคำ์ฌาน และมีีพยางคำ์ต้นเหมี่อื่นกูัน นี�อื่าจัเป็นเหตุให้ผัู้ใช้้

             ภาษาเติมีท้าย วิตกู เป็น วิตกูวิจัารณ์

                     สี่ลบไสี่ล

                     เหตุใด้จั่งเติมีท้ายคำำา สี่ลบ เป็น สี่ลบไสี่ล คำำาว่า ไสี่ล ไมี่มีีคำวามีหมีาย เพียงแต่เสี่ียงเหมี่อื่นกูับ
             ไศิล ซ้ำ่�งแปลว่า เขาหิน

                     คำำาว่า สี่ลบไสี่ล มีีใช้้มีาอื่ย่างน้อื่ยตั�งแต่สี่มีัยต้นรัตนโกูสี่ินทร์ พบในพจันานุกูรมีฉุบับต่าง ๆ ทั�ง
             สำัพะ พะจะนัะพาสำาไท  ศิริพจนั์ภาษาไทย์ และ อักข์ราภิธ์านัศิรับัท์ เขียนเหมี่อื่นกูันหมีด้ คำ่อื่ใช้้ไมี้มีลาย

                     อื่ย่างไรกู็ด้ี หากูพิจัารณาจัากูคำวามีหมีาย ไหล ใน สี่ลบไสี่ล น่าจัะเป็นคำำาเด้ียวกูับ ใหล
             ในหลงใหล ซ้ำ่�งใช้้ไมี้มี้วน ด้ังที�มีีกูาพย์ว่า

                                    ผัู้ใหญ่่หาผั้าใหมี่   ให้สี่ะใภ้ใช้้คำล้อื่งคำอื่
                                    ใฝ่ใจัเอื่าใสี่่ห่อื่   มีิหลงใหลใคำรขอื่ดู้


                     ใหล ที�ใช้้ไมี้มี้วนนี�หมีายถ้่ง ละเมีอื่ ตรงกูับภาษาตระกููลไทบางภาษา เช้่น
                            ภาษาไทพ่าเกู่    เหลอื่–อื่  =  ละเมีอื่ (ทั�งพูด้และกูระทำา)

                                             น้อื่นเหลอื่–อื่ = นอื่นละเมีอื่
                            ภาษาไทขาว        เหล่อื่–อื่  = ละเมีอื่

                                             นอื่นเหล่อื่–อื่ = นอื่นละเมีอื่
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96