Page 34 - วารสาร 48-1
P. 34
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
24 ลัักษณะเด่่นของบทพรรณนาธรรมชาติิในมหากาพย์์พุทธจริติของอัศวโฆษ
มีห็ากาพย่์จ้ะติ้องมีีบทพรรณนาธรรมีชาติิที�โด่ด่เด่่น กลั่าวคือจ้ะติ้องมีีบทพรรณนาธรรมีชาติิที�สัมีพันธ์
กับฉาก การพรรณนาถึึงเมีือง ปราสาทราชวัง ทะเลั ภูเขา ฤดู่กาลั พระจ้ันทร์แลัะพระอาทิติย่์ขึ�นแลัะติก
ซ์ึ�งบทพรรณนาเห็ลั่านี�ลั้วนเสริมีความีงด่งามีน่ารื�นรมีย่์ในมีห็ากาพย่์ (Keith, 1966: 92) อัศวโฆษผูู้้ได่้รับ
การย่กย่่องว่าเป็นกวีเอกท่านห็นึ�งในทำาเนีย่บกวีสันสกฤติก็ได่้แสด่งฝี่มีือการพรรณนาฉากธรรมีชาติิ
ติั�งแติ่เริ�มีเรื�องจ้นกระทั�งบทสุด่ท้าย่ ธรรมีชาติิที�อัศวโฆษพรรณนาไว้ในมหากาพย์พุทธจริตมีีทั�ง
สภาวะธรรมีชาติิเบิกบานน่ารื�นรมีย่์ใจ้ สอด่คลั้องกับฉากการกลั่าวถึึงเห็ติุการณ์น่าย่ินด่ี รวมีถึึงสภาวะ
ธรรมีชาติิที�เร้าอารมีณ์สะเทือนใจ้ของผูู้้อ่านแลัะผูู้้ฟััง สอด่คลั้องกับฉากบรรย่ากาศชวนเศร้าใจ้ การ
ศึกษาลัักษณะเด่่นของบทพรรณนาธรรมีชาติิในมหากาพย์พุทธจริตจ้ะแสด่งให็้เห็็นว่าธรรมีชาติิเป็น
องค์ประกอบเลั่าเรื�องชีวประวัติิของพระพุทธเจ้้าอย่่างมีีนัย่สำาคัญอย่่างไร กวีให็้ความีสำาคัญในการสร้าง
บทพรรณนาธรรมีชาติิที�สะท้อนภาพบริบทวิถึีชีวิติในยุ่คสมีัย่ของอัศวโฆษอย่่างไร โด่ย่ผู้ลัการศึกษา
จ้ะทำาให็้เข้าใจ้คุณค่าเชิงวรรณศิลัป์ในมีห็ากาพย่์เรื�องนี�แลัะเป็นการเผู้ย่แพร่มหากาพย์พุทธจริตให็้เป็นที�
รับรู้ในห็มีู่นักวิชาการติ่อไป
บทความีนี�จ้ะนำาเสนอลัักษณะเด่่นของบทพรรณนาธรรมีชาติิในมหากาพย์พุทธจริตของ
อัศวโฆษ แลัะบทพรรณนาธรรมีชาติิซ์ึ�งสะท้อนภาพบริบทวิถึีชีวิติในยุ่คสมีัย่ของอัศวโฆษ โด่ย่ศึกษา
จ้ากติ้นฉบับมีห็ากาพย่์พุทธจ้ริติภาษาสันสกฤติซ์ึ�งติรวจ้สอบชำาระโด่ย่ อี. เอช. จ้อห็์นสติัน (E. H.
Johnston) ใน Aśvaghoṣa’s Buddhacarita or Acts of the Buddha (Johnston, 1995) ที�ผูู้้เขีย่น
ได่้นำามีาแปลัเป็นภาษาไทย่ การศึกษาวิเคราะห็์ในบทความีนี�จ้ะใช้ติัวบทฉบับแปลัด่ังกลั่าว ทั�งนี�
มีีข้อติกลังว่า บทแปลัมหากาพย์พุทธจริตของอัศวโฆษเป็นภาษาไทย่ในบทความีนี� ผูู้้เขีย่นจ้ะระบุ
ลัำาด่ับสรรคแลั้วติามีด่้วย่ลัำาด่ับโศลัก เช่น สรรคที� ๑/๑๒ ห็มีาย่ถึึง สรรคที� ๑ โศลักที� ๑๒ เป็นติ้น แลัะ
การเขีย่นสะกด่คำาเป็นภาษาไทย่จ้ะย่ึด่ติามีติ้นฉบับมหากาพย์พุทธจริตของอัศวโฆษ เช่นเมีื�อกลั่าวถึึง
พระนามีของพระโพธิสัติว์จ้ะใช้สรรวารถึสิทธะแทนสิทธัติถึะ รวมีทั�งชื�อเฉพาะจ้ะเขีย่นทับศัพท์ เช่น
นกจ้ักรวากะ ห็มีาย่ถึึง นกจ้ากพาก เป็นติ้น
ผู้้�แติ่งแลัะเน่�อหามหากาพย์์พุทธจริติ
ข้อมีูลัเกี�ย่วกับชีวประวัติิของผูู้้แติ่งมีีไมี่มีาก จ้ากห็ลัักฐานเท่าที�ปรากฏิ อัศวโฆษเป็นบุติร
ของนางสุวรรณากษี เกิด่ที�เมีืองสาเกติ แติ่เด่ิมีนับถึือพราห็มีณ์แลัะได่้รับการศึกษาแบบพราห็มีณ์จ้นมีี
ความีเชี�ย่วชาญในไติรเพท ภาย่ห็ลัังห็ันมีานับถึือพระพุทธศาสนา โด่ย่บวชเป็นภิกษุในนิกาย่สรวาสติิวาท
ด่้วย่ความีที�ท่านเป็นทั�งปราชญ์แลัะเป็นทั�งกวี เมีื�อบวชแลั้วจ้ึงมีีคำานำาห็น้าชื�อมีากมีาย่ เช่น ภิกษุ อาจ้ารย่์