Page 49 - 22-0722 EBOOK
P. 49

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                         ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๓  กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๔
             ศาสตราจารย์์ ดร.อรอนงค์์  นัย์วิิกุุล                                           39


             ข้อความีแต�ละข้อความีซึ่ำ�า ๆ ด้วยระยะเวลาที�เท�ากันั ในัช�วง ๒ สัปดาห์ แล้วเปิดขวดด่ ปรากฏิว�า

             ขวดที�เขียนัว�า “รัก” ได้รับกระแสคำาพุ่ดว�ารัก ยังมีีสภาพุข้าวเป็นัปรกติ  ขวดที�เขียนัว�า “เกลียด”

             ได้กระแสคำาพุ่ดว�าเกลียด มีีลักษัณะบ่ดเนั�า ส�วนัขวดที�เขียนัว�า “เฉีย ๆ” ก็มีีลักษัณะบ่ดบางส�วนั
             จ่งพุิส่จนั์ได้ว�า  กระแสความีคิดจากใจมีีผลต�ออาหารและสุขภาพุร�างกายของเราที�มีีนัำ�าเป็นัส�วนัประกอบ
             อย่�มีาก กล�าวคือ ถี้าเราคิดอะไรที�ไมี�ดีอย่�เสมีอ ก็จะมีีผลต�ออาหารที�เรากินัเข้าไป และร�างกายของเรา

             ก็จะได้รับเชื�อโรคต�าง ๆ เป็นัเหตุของความีเจ็บไข้ได้ป่วยได้อีกด้วย

                       ทั�งนัี� กรมีสุขภาพุจิต กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว�า ได้พุบผ่้ป่วยโรคเบาหวานั
             ซึ่่�งเกิดจากการบริโภคอาหารที�มีีดัชนัีนัำ�าตาลส่ง ทำาให้ร�างกายมีีนัำ�าตาลในัเลือดส่งกว�าปรกติ เกิดปัญหา
             สุขภาพุจิตส่งกว�าคนัทั�วไปถี่ง ๒ เท�า  โดยพุบว�าเป็นัโรคซึ่่มีเศร้า  โรควิตกกังวลส่งถี่งร้อยละ ๓๐  เนัื�องจาก

             ขาดฮีอร์โมีนัอินัซึ่่ลินั ส�งผลให้กระบวนัการด่ดซึ่่มีนัำ�าตาลในัเลือดให้เป็นัพุลังงานัของเซึ่ลล์ในัร�างกาย

             มีีความีผิดปกติ หรือทำางานัได้ไมี�เต็มีประสิทธิภาพุ จนัเกิดนัำ�าตาลสะสมีในัเลือดปริมีาณมีาก

             บทสุรุป็

                     จากแนัวคิดการกินัอาหารอย�างไรกายใจเป็นัสุขสรุปได้ว�า อาหารซึ่่�งเป็นัปัจจัยสำาคัญของ
             การเกิดและดับของชีวิตนัั�นั ต้องกินัด้วยใจที�มีีสติ ควบคุมีอารมีณ์ให้รับร่้ในัคุณค�าของอาหารและ
             โภชนัาการที�มีีผลต�อการเจริญเติบโตและซึ่�อมีแซึ่มีร�างกาย  ให้มีีสัดส�วนัของข้าว ปลา อาหาร  ตามีลักษัณะ

             อาหารและรสชาติอาหารตามีท้องถีิ�นัของประเทศไทย มีากกว�าที�จะไปนัิยมีอาหารตามีท้องถีิ�นัอื�นั

             ที�ไมี�ใช�รากฐานัของชีวิตตามีแหล�งกำาเนัิดของบรรพุบุรุษัของเรา พุร้อมีทั�งการออกกำาลังกายควบค่�กับ
             ปริมีาณการกินัอาหารให้เพุียงพุอกับความีต้องการของร�างกายเท�านัั�นั เพุื�อให้ได้ผลต�อสุขภาพุร�างกาย
             ที�ประกอบด้วยใจเป็นัสุขและกายเป็นัสุข ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีีอายุยืนัยาวตามีที�ควรจะเป็นัได้ของ

             แต�ละคนั ดังคำากล�าวที�ว�า “กินัอะไรได้ผลเช�นันัั�นั” หรือ “คุณกินัอะไรก็เป็นัตัวคุณอย�างนัั�นั” (You are

             what you eat)

             เอกสุารอ้างอิง

             กาญจนัี คำาบุญรัตนั์. (๒๕๖๔). วิถีีชีวิตคนัสุโขทัยเมีื�อกาลก�อนั จากศิลาจาร่ก และเรื�องสำาเนัียงภาษัา
                     ที�ผิดธรรมีดา. ศิลป็วัฒนธ์รรม. กรุงเทพุฯ.
             กรมีการศาสนัา กระทรวงศ่กษัาธิการ. (๒๕๓๐). พระไตรป็ิฎกภาษาไทย่ ฉบับสุังคิาย่นา ใน

                     พระบรมราชููป็ถััมภ์ พุทธ์ศักราชู ๒๕๓๐. กรุงเทพุฯ : โรงพุิมีพุ์การศาสนัา.
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54