Page 47 - 22-0722 EBOOK
P. 47
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๓ กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๔
ศาสตราจารย์์ ดร.อรอนงค์์ นัย์วิิกุุล 37
ร�างกายได้รับสารอาหารประเภทคาร์โบไฮีเดรตมีากเกินัไป โดยเฉีพุาะกลุ�มีนัำ�าตาลจากอาหารที�มีีดัชนัี
นัำ�าตาลส่ง จะทำาให้ร�างกายเกิดความีผิดปรกติในัการควบคุมีระดับนัำ�าตาลในัเลือด ส�งผลให้เกิดโรค
เบาหวานัได้
คนับางคนัมีีความีผิดปรกติของพุันัธุกรรมี ทำาให้ย�อยอาหารที�มีีกล่เทนัไมี�ได้ กล่เทนันัี�เป็นั
ไกลโคโปรตีนัที�พุบในัข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโอ๊ต เป็นัต้นั เมีื�อกินัอาหารที�ทำาจากแป้งเหล�านัี� เช�นั
ขนัมีปัง ขนัมีเค้ก พุิซึ่ซึ่า ครัวซึ่องส์ คุกกี� ผ�านักระเพุาะเข้าส่�ลำาไส้เล็ก กล่เทนันัี�จะมีีผลให้เกิดการ
ระคายเคืองของลำาไส้เล็ก ก�อให้เกิดอาการแพุ้ที�สังเกตได้อย�างใดอย�างหนั่�งหรือร�วมีกันัในั ๑๐ อาการ
ต�อไปนัี� คือ ๑. ท้องอืด ท้องเสีย และท้องผ่ก ๒. โรคขนัคุดตามีท้องแขนั ๓. อ�อนัเพุลียหรือร่้ส่กเหนัื�อย
๔. ได้รับการวินัิจฉีัยว�าเป็นัโรคที�เกิดจากการแพุ้ภ่มีิแพุ้ตัวเอง เช�นั ต�อมีไทรอยด์เรื�อรัง โรคไขข้ออักเสบ
๕. เวียนัศีรษัะ ๖. ฮีอร์โมีนัไมี�ได้ดุล ๗. เป็นัโรคไมีเกรนัหรือโรคปวดหัวข้างเดียว ๘. อ�อนัล้าโดยไมี�ทราบ
สาเหตุ ๙. อักเสบ บวมี และปวดบริเวณข้อต�อ และ ๑๐. วิตกกังวลหรืออารมีณ์แปรปรวนั กลุ�มีคนัเหล�านัี�
ถีือว�าเป็นัโรคซึ่ีลิแอก (Celiac disease) ที�ตรวจพุบได้ยาก เพุราะมีีอาการคล้ายคล่งกับโรคทั�วไปอื�นั ๆ
เราจ่งควรสังเกตอาการด้วยตัวเอง แล้วลองหยุดกินัอาหารประเภทที�มีีกล่เทนั ด่ว�าร�างกายปรับตัวดีข่�นั
หรือไมี�อย�างไร เพุื�ออาจจะต้องงดอาหารประเภทนัี�ตลอดไป
เมีื�อเลือกกินัอาหารที�เหมีาะสมีต�อร�างกายแล้ว คนัเรายังจำาเป็นัต้องออกกำาลังกายเป็นั
ประจำา โดยใช้หลักการแบบ FITT คือ F (Frequency) หมีายถี่ง ความีถีี�ของการออกกำาลังกาย เช�นั
วันัเว้นัวันั สัปดาห์ละ ๓ วันั I (Intensity) หมีายถี่ง ความีหนัักในัการออกกำาลังกายให้ได้อัตราการเต้นั
ของหัวใจอย่�ที�ร้อยละ ๕๐-๖๐ เพุื�อสุขภาพุโดยรวมี T (Time) หมีายถี่ง ระยะเวลาที�เหมีาะสมีในัแต�ละครั�ง
ประมีาณ ๒๐-๓๐ นัาที และ T (Type) หมีายถี่ง ชนัิดของการออกกำาลังกายที�เหมีาะสมีตามีช�วงวัย
เช�นั ว�ายนัำ�า วิ�ง เดินั ปั�นัจักรยานั ยกนัำ�าหนััก ทั�งนัี�เพุราะการออกกำาลังกายทำาให้ร�างกายปรับดุลยภาพุ
ของการกินัอาหาร โดยนัำาพุลังงานัที�สะสมีไว้ออกมีาใช้ ส�งผลให้เกิดความีหิวและกินัอาหารได้ แล้วนัำา
อาหารเข้าส่�ร�างกายเพุื�อให้ได้พุลังงานัในัการเสริมีสร้าง ซึ่�อมีแซึ่มีร�างกาย เพุิ�มีกล้ามีเนัื�อ เป็นัต้นั
ดังนัั�นั อาหารกับกายจ่งมีีความีสัมีพุันัธ์กันัในัด้านัที�จะก�อให้เกิดสุขภาพุที�ดีได้โดยการกินัอาหารครบ
๕ หมี่� แต�ละหมี่�ให้หลากหลาย และหมีั�นัควบคุมีด่แลนัำ�าหนัักตัว กินัข้าวเป็นัอาหารหลัก สลับกับอาหาร
ประเภทแป้งเป็นับางมีื�อ กินัพุืชผักให้มีาก และกินัผลไมี้เป็นัประจำา กินัปลา เนัื�อสัตว์ไมี�ติดมีันั ไข�
และถีั�วเมีล็ดแห้งเป็นัประจำา ดื�มีนัมีให้เหมีาะสมีตามีวัย กินัอาหารที�มีีไขมีันัแต�พุอควร หลีกเลี�ยงการกินั
อาหารรสหวานัจัดและเค็มีจัด กินัอาหารที�สะอาดปราศจากการปนัเป้�อนั และงดหรือลดเครื�องดื�มีที�มีี
แอลกอฮีอล์