Page 41 - 22-0722 EBOOK
P. 41
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๓ กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๔
ศาสตราจารย์์ ดร.อรอนงค์์ นัย์วิิกุุล 31
แนัวคิดทั�ง ๕ ข้อนัี�ย่ดแนัวทางการปฏิิบัติตามีคำาสอนัของพุระพุุทธองค์ที�ว�า ในัการดำารงชีวิต
ด้วยอาหารนัั�นัต้องมีีสติ ควบคุมีอารมีณ์ มีีจิตใจสงบ ทำาให้ส�งผลดีต�อสุขภาพุจากอาหาร ประกอบกับ
การเลือกกินัอาหารให้ครบถี้วนั ทำากิจการงานั ออกกำาลังกาย กินัอย่�ตามีแนัวทางพุอเพุียงพุอดีของ
พุระบาทสมีเด็จพุระบรมีชนักาธิเบศร มีหาภ่มีิพุลอดุลยเดชมีหาราช บรมีนัาถีบพุิตร (รัชกาลที� ๙)
จะทำาให้การกินัอาหารนัั�นันัำาไปส่�ความีสุขทางกายและใจได้
๑. อาหารหมาย่คิวามว่าอย่่างไร
คำาสอนัของพุระพุุทธเจ้าว�าด้วยความีเกิดและดับแห�งร่ปมีีได้เพุราะอาหารนัั�นัแสดงว�า
อาหารเป็นัสิ�งสำาคัญที�สุดอย�างหนั่�งของชีวิต ซึ่่�งมีีทั�งการเกิดและการดับ ในัคำาสอนัจากพุระไตรปิฎก
ภาษัาไทยปรากฏิคำา ๒ คำาคือ
๑) โภชนัสัปปายะ หมีายถี่ง การกินัอาหารที�เหมีาะสมีกับร�างกาย เกื�อก่ลสุขภาพุ
๒) โภชเนัมีัตตัญญุุตา หมีายถี่ง การร่้จักประมีาณในัการกินั ไมี�กินัมีากเกินัไปหรือ
นั้อยเกินัไป แต�กินัให้พุอดีกับที�ร�างกายต้องการ
ความีหมีายของอาหารตามีนััยพุระไตรปิฎกดังกล�าวสอดคล้องกับพุจนัานัุกรมี ฉีบับ
ราชบัณฑิิตยสถีานั พุ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่่�งให้ความีหมีายของอาหารว�า ของกินั เครื�องคำ�าจุนัชีวิต เครื�อง
หล�อเลี�ยงชีวิต โดยปริยายหมีายถี่งสิ�งที�มีีลักษัณะคล้ายคล่งเช�นันัั�นั เช�นั อาหารตา อาหารใจ
๒. อาหารไทย่ได้มาจากไหน
จากการตั�งถีิ�นัฐานัของชาวไทย สืบทอดการทำามีาหากินัของบรรพุบุรุษัในัถีิ�นัแหลมีทอง
หรือ “สุวรรณภ่มีิ” ของไทย จากยุคสุโขทัย อยุธยา และรัตนัโกสินัทร์ในัปัจจุบันั ด้วยการปกครองระบบ
พุ�อขุนั แบบ “พุ�อปกครองล่ก” มีาเป็นัระบบกษััตริย์ คือ ผ่้เป็นัเจ้าของนัา ผ่้ปกครองป้องกันัพุาให้พุ้นั
อันัตราย คำาว�า “นัา” หมีายถี่งที�ปล่กข้าวเพุื�อเลี�ยงคนัทั�งประเทศ พุระมีหากษััตริย์ทุกยุคทุกสมีัย
ถีือเป็นัหนั้าที�หลักในัการทำานัุบำารุงส�งเสริมีให้ชาวนัาได้ปล่กข้าวเป็นัอาหารหลักของประชาชนัคนัไทย
ตลอดมีา โดยเฉีพุาะพุระบาทสมีเด็จพุระบรมีชนักาธิเบศร มีหาภ่มีิพุลอดุลยเดชมีหาราช บรมีนัาถีบพุิตร
(รัชกาลที� ๙) ได้สืบทอดวิถีีทางสนัับสนัุนัให้ชาวนัาได้พุัฒนัาวิธีการปล่กข้าว ด้วยการทดลองปล่กข้าว
ในัวังสวนัจิตรลดาของพุระองค์เอง เพุื�อให้คำาแนัะนัำาแก�ชาวนัา ดังพุระราชดำารัสที�เกี�ยวข้องกับการ
ปล่กข้าว และการแนัะนัำาให้ประชาชนัคนัไทยได้บริโภค “ข้าวกล้อง” ในัวโรกาสต�าง ๆ ดังนัี�
๒.๑ “ข้าพุเจ้ามีีโอกาสได้ศ่กษัาการทดลองและทำานัามีาบ้าง และทราบดีว�า การทำานัานัั�นั
มีีความียากลำาบากอย่�มีิใช�นั้อย จำาเป็นัจะต้องอาศัยพุันัธุ์ข้าวที�ดี และต้องใช้วิชาการต�าง ๆ ด้วย จ่งจะ
ได้ผลเป็นัลำ�าเป็นัสันั อีกประการหนั่�ง ที�นัานัั�นั เมีื�อสิ�นัฤด่ทำานัาแล้วควรปล่กพุืชอื�นั ๆ บ้าง เพุราะจะ