Page 92 - 22-0320 ebook
P. 92

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๕
           84                                                     บทละครในเร่�องอิเหนา ตอนศึึกกะหมัังกุหนิง


           ปลอมัตัวหลาย่ครั�งในหลากหลาย่ช่้�อ ต่อมัามั้การแต่งเป็นลาย่ลักษณ์และเป็นทำ้�รู้จักแพร่หลาย่เป็น

           อย่่างมัากในสมััย่อาณาจักรมััช่ปาหิตของช่วา (พุทำธ์ศึตวรรษทำ้� ๑๙–๒๐) พ่อค้าทำ้�เดินทำางค้าขาย่ทำาง

           ทำะเลเป็นผูู้้นำานิทำานปันหย่้ไปเผู้ย่แพร่จนเป็นทำ้�รู้จักกันด้ในประเทำศึแถูบเอเช่้ย่อาคเนย่์ในระหว่าง
           พุทำธ์ศึตวรรษทำ้� ๒๒–๒๓ ค้อ แพร่หลาย่จากช่วาไปบาหล้ มัาเลเซึ่้ย่ ไทำย่ เมั้ย่นมัา และเขมัร (https://
           en.unesco.org/memoryoftheworld/registry/515)

                    นิทำานปันหย่้มั้หลากหลาย่สำานวนโดย่มั้เน้�อหาผู้ิดเพ้�ย่นกันไปบ้าง (ดาหลัง, ๒๔๙๙ : (๑๓))

           ธ์าน้รัตน์ จัตุทำะศึร้ (๒๕๕๘ : ๒๒๑) ศึึกษานิทำานปันหย่้สำานวนต่าง ๆ ซึ่ึ�งน่าจะเป็นทำ้�มัาของเร้�องอิเหนา
           ในวรรณคด้ไทำย่ พบว่าเร้�องต่าง ๆ ในเร้�องอิเหนาน่าจะมั้ทำ้�มัาจากนิทำานปันหย่้สำานวนต่าง ๆ รวมั ๓๓
           สำานวน นอกจากน้�มั้บางอนุภาคทำ้�กว้ไทำย่แต่งเติมัเข้าไปในลักษณะสร้างสรรค์ขึ�น เช่่น อนุภาคอิเหนา

           ฉาย่กริช่ อนุภาคบุษบาเส้�ย่งเทำ้ย่น

                    นิทำานปันหย่้เริ�มัเผู้ย่แพร่เข้ามัาในประเทำศึไทำย่ตั�งแต่เมั้�อใดไมั่ปรากฏหลักฐานแน่ช่ัด
           ทำราบแต่เพ้ย่งว่าเริ�มัมั้การแต่งนิทำานปันหย่้เป็นวรรณคด้ลาย่ลักษณ์สมััย่อยุ่ธ์ย่าตอนปลาย่ในสมััย่ของ
           สมัเด็จพระเจ้าอยู่่หัวบรมัโกศึ (พ.ศึ. ๒๒๗๕–๒๓๐๑) ผูู้้นำานิทำานปันหย่้เข้ามัาเผู้ย่แพร่ในราช่สำานักอยุ่ธ์ย่า

           ค้อเช่ลย่หญ่ิงช่าวมัลายู่ทำ้�อยุ่ธ์ย่าได้มัาจากเมั้องปัตตาน้ หญ่ิงมัลายู่ผูู้้น้�ได้เข้ามัาเป็นข้าหลวงของเจ้าฟ้้า

           หญ่ิงกุณฑิลและเจ้าฟ้้าหญ่ิงมังกุฎผูู้้เป็นพระธ์ิดาในสมัเด็จพระเจ้าอยู่่หัวบรมัโกศึ นางน่าจะเล่านิทำาน
           ปันหย่้เป็น ๒ สำานวน จึงทำำาให้ทำั�ง ๒ พระองค์ทำรงพระนิพนธ์์เป็นกลอนบทำละครต่างเร้�องกัน เจ้าฟ้้าหญ่ิง
           กุณฑิลทำรงพระนิพนธ์์เป็นเร้�องดาหลังหร้ออิเหนาใหญ่่เพ้�อใช่้เป็นบทำแสดงละครในซึ่ึ�งเฟ้่�องฟู้มัากใน

           รัช่สมััย่นั�น ส่วนเจ้าฟ้้าหญ่ิงมังกุฎทำรงพระนิพนธ์์เป็นเร้�องอิเหนาหร้ออิเหนาเล็กเพ้�อใช่้เป็นบทำแสดง

           ละครในเช่่นเด้ย่วกัน [ดาหลัง, ๒๔๙๙ : (๑๕)] สมัเด็จพระเจ้าบรมัวงศึ์เธ์อ กรมัพระย่าดำารงราช่านุภาพ
           ทำรงกล่าวไว้ในหนังส้อ “ตำานานละครอิเหนา” ว่าเน้�อหาของเร้�องอิเหนัา พระนิพนธ์์ของเจ้าฟ้้าหญ่ิงมังกุฎน้�
           น่าจะจบตอนสึกช่้เทำ่านั�น ดังปรากฏในกลอนเพลงย่าวเมั้�อจบกลอนบทำละครทำ้าย่เล่มั ๓๘ พระราช่-

           นิพนธ์์เร้�องอิเหนาของรัช่กาลทำ้� ๑ ว่า

                          อันอิเหนานิพนธ์์ไว้แต่ก่อน     บทำกลอนเพราะพริ�งเป็นหนักหนา

                          ใครสดับก็จับวิญ่ญ่าณ์          ดังสุธ์าทำิพรสสำาอางกรรณ
                          แต่ค้างอยู่่เพ้ย่งสึกช่้       นับปีจะสูญ่เร้�องเป็นแมั่นมัั�น

                                                (บัทละครในัเร่�องอิเหนัาพระราชนัิพนัธ์์ของรัชกาลท่� ๑
                                                อ้างถูึงใน สมัเด็จฯ กรมัพระย่าดำารงราช่านุภาพ, ๒๕๐๘ : ๑๓๓)
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97