Page 283 - 46-1
P. 283
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
ดร.พรธรรม ธรรมวิิมล 275
ภูาพัท่� ๕ แลิะ ๖ ภูาพถ่ายแสดีงการออกแบบภููมิสถาปัตยกรรมบริเวณฐานรอบพระเมรุมาศ
โดียออกแบบเป็นสระอโนดีาต ป่าหิมพานต์ ประกอบดี้วยสระนำ�าสัตว์หิมพานต์ โขดีหิน
แลิะไม้ดีัดีไทย ตามภูาพจิตรกรรมฝาผนัง
ท่�มิา: สมาค้มภููมิสถาปนิกประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๑
บทสรุปั
งานภููมิสถาปัตยกรรมนั�นเป็นส่วนหน่�งในองค้์รวมของการก่อสร้างพระเมรุมาศที�ดีำาเนิน
สืบทอดีมาตั�งแต่อดีีต จากพัฒนาการของงานภููมิสถาปัตยกรรมในงานพระเมรุมาศทั�ง ๔ ช่วงนี�จะเห็นไดี้ว่า
งานภููมิสถาปัตยกรรมไดี้มีบทบาทในการกำาหนดีรูปแบบของผังแลิะการตกแต่งสภูาพแวดีลิ้อมมากข่�น
รวมทั�งมีส่วนร่วมในการสื�อค้วามหมาย ขับเน้นแนวค้วามค้ิดีจากปรัชญา ค้วามเชื�อที�มีต่อมณฑลิพิธีีแลิะ
สถาปัตยกรรมพระเมรุมาศให้มีค้วามชัดีเจนมากข่�นดี้วย พื�นที�ในส่วนของงานภููมิสถาปัตยกรรมนั�นเป็น
พื�นที�ที�เชื�อมต่อระหว่างกลิุ่มอาค้ารในมณฑลิพิธีีกับปริมณฑลิโดียรอบ จ่งเป็นพื�นที�ที�สำาค้ัญที�ภููมิสถาปนิก
ผู้ออกแบบสามารถนำาเสนอในการสืบสานสร้างสรรค้์องค้์ค้วามรู้ทางดี้านปรัชญา แนวค้ิดีศิลิปกรรมไทย
ในอดีีตบนพื�นที�สำาค้ัญนี�ที�นอกจากการเป็นพื�นที�สำาหรับรองรับพระราชพิธีีตามโบราณราชประเพณีที�
สมบูรณ์ค้งไว้ซึ่่�งค้ติค้วามเชื�อเดีิมแลิ้ว ยังเป็นพื�นที�ที�สามารถนำาเสนอรูปแบบผ่านงานภููมิสถาปัตยกรรม
สื�อค้วามหมายบริเวณมณฑลิพิธีีที�แสดีงค้วามเป็นอนุสรณ์ระลิ่กถ่งพระองค้์ ผู้เสดี็จกลิับสู่สรวงสรรค้์
อีกดี้วย
เอกสารอ้างอิง
กรมศิลิปากร. (๒๕๓๙). เคร่�องปัระกอบพัระราชอิสริยยศ ราชยาน ราชรถ และพัระเมิรุมิาศ.
กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมแลิะประวัติศาสตร์ กรมศิลิปากร.