Page 281 - 46-1
P. 281

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑  มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
             ดร.พรธรรม ธรรมวิิมล                                                            273


             อันเนื�องมาจากพระราชดีำาริ นำามาผสมในการฉาบผิวเพื�อค้วามเป็นสิริมงค้ลิ พันธีุ์ข้าวที�ปลิูกจัดีเป็น

             แปลิงนา ๓ ระยะ ค้ือ ระยะต้นกลิ้า ระยะแตกกอ แลิะระยะตกรวง จำานวน ๓ สายพันธีุ์ ค้ือ พันธีุ์ข้าว
             ปทุมธีานี ๑ ตัวแทนข้าวจากภูาค้กลิาง ประดีับในระยะต้นกลิ้า สายพันธีุ์หอมมะลิิ ๑๐๕ แทนข้าวจาก

             ภูาค้เหนือแลิะภูาค้อีสาน ประดีับในระยะแตกกอ แลิะพันธีุ์ข้าวปทุมธีานี ๘๐ หรือสายพันธีุ์ข้าว กข ๓๑
             ซึ่่�งเป็นพันธีุ์ชื�อเนื�องในโอกาสที�พระบาทสมเดี็จพระบรมชนกาธีิเบศร มหาภููมิพลิอดีุลิยเดีชมหาราช
             บรมนาถบพิตรมีพระชนมายุค้รบ ๘๐ พรรษัา ประดีับในระยะตกรวง

                       โค้รงการพระราชดีำาริตกแต่งภููมิทัศน์ประกอบดี้วย หญ้าแฝก  ป่า ๓ อย่างประโยชน์ ๔ อย่าง
             ค้ือ ไม้กินไดี้ ไม้ใช้สอย แลิะไม้เศรษัฐกิจ ประโยชน์ที� ๔ ค้ืออนุรักษั์ดีินแลิะนำ�า ปลิูกไม้ต่าง ๆ ประดีับ

             ไดี้แก่ มะม่วงมหาชนก มะกรูดี มะนาว แลิะต้นยางนา ฝายชะลิอนำ�า แก้มลิิง กังหันชัยพัฒนา แลิะ
             เค้รื�องกลิเติมอากาศ แลิะเกษัตรทฤษัฎีใหม่ ตามแนวเศรษัฐกิจพอเพียง
                       การก่อสร้างพระเมรุมาศเพื�อพระราชพิธีีถวายพระเพลิิงพระบรมศพ พระบาทสมเดี็จ

             พระบรมชนกาธีิเบศร มหาภููมิพลิอดีุลิยเดีชมหาราช บรมนาถบพิตรนี� เพื�อพระราชพิธีีฯ แลิะเพื�อถวาย
             พระเกียรติยศสูงสุดี ซึ่่�งไดี้ผ่านพระราชพิธีีเสร็จสิ�นอย่างสมบูรณ์ทุกขั�นตอน โดียเฉพาะพื�นที�ภูายนอกนั�น

             เป็นส่วนที�สำาค้ัญมากสำาหรับงานพระราชพิธีีถวายพระเพลิิงพระบรมศพ ซึ่่�งเป็นพื�นที�รับผิดีชอบในงาน
             ภููมิสถาปัตยกรรม ในการออกแบบนอกจากการใช้สอยที�สมบูรณ์ตามราชประเพณีแลิ้วยังต้องสอดีแทรก
             สื�อค้วามหมายของแต่ลิะพื�นที�ที�เหมาะสม โดียมีค้วามแตกต่างกัน ๒ พื�นที�ค้ือ พื�นที�ภููมิทัศน์ดี้านหน้า

             ทางเข้ามณฑลิพิธีี มีค้วามหมายที�แสดีงถ่งโค้รงการอันเนื�องมาจากพระราชดีำาริต่าง ๆ โดียย่อ ที�ใช้
             ศาสตร์แลิะศิลิปะเข้ามาเกี�ยวข้องในการจัดีการออกแบบพื�นที� อย่างที�เห็นดี้านหน้าเป็นแปลิงนาข้าว

             หญ้าแฝก  ฝายนำ�าลิ้น  ต้นยางนา  ต้นมะม่วงมหาชนก  ค้ันนาใส่สัญลิักษัณ์ของเลิข  ๙  เป็น
             ภููมิสถาปัตยกรรม  เป็นการตีค้วามถ่งพระบาทสมเดี็จพระบรมชนกาธีิเบศร  มหาภููมิพลิอดีุลิยเดีชมหาราช
             บรมนาถบพิตร จากพระราชกรณียกิจต่าง ๆ มองแลิ้วน่กถ่งพระองค้์ ในขณะที�พื�นที�ภููมิทัศน์ส่วน

             ลิานรอบพระเมรุมาศเป็นการตีค้วามการส่งเสดี็จพระองค้์กลิับสู่สวรรค้์ เป็นภููมิจักรวาลิตามอุดีมค้ติ
             ไทย ซึ่่�งการออกแบบภููมิสถาปัตยกรรมทั�ง ๒ ส่วนนี�เป็นงานออกแบบเชิงสัญลิักษัณ์

                       รูปแบบการออกแบบงานภููมิสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศในค้รั�งนี� นับไดี้ว่าเป็นค้รั�ง
             ที�เข้ามามีบทบาทเป็นการช่วยเสริมอธีิบายที�สื�อค้วามหมายถ่งเขาพระสุเมรุที�เป็นศูนย์กลิางของ
             ภููมิจักรวาลิ ให้มีค้วามชัดีเจนข่�นในส่วนพื�นที�รอบพระเมรุ ในขณะที�พื�นที�ดี้านหน้าทางทิศเหนือเป็น

             โอกาสที�ทุกค้นจะไดี้เรียนรู้ถ่งพระอัจฉริยภูาพของพระองค้์จากแปลิงนาข้าว เป็นต้น ซึ่่�งหลิังงาน
             พระราชพิธีีถวายพระเพลิิงพระบรมศพ พระบาทสมเดี็จพระบรมชนกาธีิเบศร มหาภููมิพลิอดีุลิยเดีช

             มหาราช บรมนาถบพิตร นี� สามารถใช้เป็นสถานที�ในการเรียนรู้ถ่งโค้รงการอันเนื�องมาจากพระราชดีำาริ
   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285   286