Page 172 - 45-3
P. 172

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                            ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๓  กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๓
               164                                                  สถานการณ์์ภาวะไตวายเฉีียบพลัันในประเทศไทย



               ที่ั�วโลักเข�าใกลั� ๕๐-๑๐๐ ลั�านในแต่ลัะป็ี (Malavige et al., 2004 : 588) อาการที่างคัลัินิกของโรคัไต

               ในผู้้�ป็่วยติดเช่ื�อไวรัสำเดงกี ได�แก่ ภาวะไตวายเฉีียบพลััน thrombotic microangiopathy, โรคั
               glomerulopathy เช่่น IgG, C3, IgM สำะสำม (Puapatanakul et al., 2017 : 160) คัวามชุ่ก

               ของภาวะไตวายเฉีียบพลัันในโรคัติดเช่ื�อไวรัสำเดงกีในแต่ลัะการศึกษาคั่อนข�างจะมีคัวามแตกต่างกัน
               อย่างแพร่หลัายเนื�องจากคัำานิยามที่ี�แตกต่างกัน โดยสำรุป็คัวามชุ่กของการบาดเจ็บที่ี�ไตเฉีียบพลัันมีคั่า

               ตั�งแต่ร�อยลัะ ๐.๒-๓๕.๗ (Basu et al., 2011 : 524; Khan et al., 2008 : 39; Laoprasopwattana
               et al., 2010 : 303; Lee et al., 2009 : 651)

                          นอกเหนือไป็จากสำาเหตุการติดเช่ื�อ ยังมีป็ัจจัยที่ี�ไม่เกี�ยวกับการติดเช่ื�อที่ี�เป็็นสำาเหตุ
               ของการเกิดภาวะไตวายเฉีียบพลัันในป็ระเที่ศไที่ย เช่่น สำารพิษจากการถ้กง้พิษกัด (envenomous

               snakebite) โดยเฉีพาะในกลัุ่มง้แมวเซัา (Daboia siamensis) (Kajanabuch et al., 2008 : 363)
               กลัไกการเกิดภาวะไตวายเฉีียบพลัันเกิดจากป็ัจจัยที่างตรงแลัะป็ัจจัยที่างอ�อม  เช่่น  ภาวะ

               hemoglobinuria ภาวะ rhabomyolysis ภาวะ disseminated intravascular coagulation
               (DIC) อุบัติการณ์์การเกิดภาวะไตวายเฉีียบพลัันพบร�อยลัะ ๑.๔-๓๘ โดยมีอัตราการเสำียช่ีวิตตั�งแต่

               ร�อยลัะ ๑-๒๐ (Kajanabuch et al., 2008 : 363; Pinho et al., 2005 : 659) การบริหารยา
               monovalent antivom ที่ี�จำาเพาะต่อพิษง้ ก่อนที่ี�จะเกิดภาวะไตวายเฉีียบพลัันเป็็นสำิ�งสำำาคััญ สำำาหรับ

               การลั�างไตคัวรจะดำาเนินการในที่ันที่ีเมื�อมีข�อบ่งช่ี�
                          ตัวต่อแลัะผู้ึ�งต่อยเป็็นสำาเหตุที่ี�พบบ่อย ๆ ของภาวะไตวายเฉีียบพลัันในป็ระเที่ศ

               เขตร�อนรวมถึงป็ระเที่ศไที่ย รายงานการศึกษาขนาดใหญ่จากสำาธารณ์รัฐป็ระช่าช่นจีนแสำดงให�เห็นว่า
               คัวามรุนแรงของโรคัขึ�นอย้่กับจำานวนการต่อย   โดยมีคั่า  cut off point   ของจำานวนของเหลั็กในที่ี�   ๑๐   อัน

               ในการเกิดอาการรุนแรง รวมถึงภาวะไตวายเฉีียบพลััน (Xie et al., 2013 : e83164)
                          ภาวะแที่รกซั�อนที่างสำ้ติกรรมคัวรได�รับการพิจารณ์าเป็็นพิเศษ เนื�องจากเป็็นสำาเหตุสำำาคััญ

               ของภาวะไตวายเฉีียบพลัันอีกสำาเหตุหนึ�ง รายงานจากอินเดียพบภาวะไตวายเฉีียบพลัันได�ถึงร�อยลัะ
               ๐.๐๖-๒ ของจำานวนการคัลัอดที่ั�งหมด โดยมี abruptio placenta, eclampsia, post partum

               infection เป็็นสำาเหตุสำำาคััญ (Dambal et al., 2015 : OC01; Prakash et al., 2010 : 309)
                        ๕. Inherent factors

                          ป็ัจจัยที่างด�านอายุ พันธุกรรม แลัะโรคัป็ระจำาตัว เช่่น เบาหวาน คัวามดันโลัหิตสำ้ง
               โรคัหัวใจแลัะหลัอดเลัือด โรคัไตเรื�อรังลั�วนแลั�วแต่มีสำ่วนเกี�ยวข�องกับการเกิดภาวะไตวายเฉีียบพลััน

               ในอดีตป็ัจจัยเหลั่านี�อาจมีผู้ลัต่อภาวะไตวายเฉีียบพลัันในป็ระเที่ศไที่ยน�อยกว่าป็ัจจัยอื�น ๆ ที่ี�กลั่าวมา







                                                                                                  19/1/2565 BE   08:54
       _21-0851(154-171)8.indd   164                                                              19/1/2565 BE   08:54
       _21-0851(154-171)8.indd   164
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177