Page 202 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 202

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีท์่� ๔๙ ฉบับท์่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๗

             192                                                         การใช้้คำศััพท์์ท์่�เก่�ยวกับการประกอบอาหารเขมร



                              บฺรหุกจิญฺฺจฺรำฎุุตชฺ้ร่ญ /ปฺรอ-ฮก เจิญ-จฺรัม ดด จีฺร่ญ/ “ปลี้าร้าสัับเผาเข่ยง” ค่อ ปลี้าร้า

             สัับท์ี�นำไปควิ�ำวิางย�างบนเต้าไฟท์ั�งเข้ียง
                    การประกอบอาหารด้วิยวิิธีี ฎุุต้ /ดด/ “เผา” ดังท์ี�ได้กลี้�าวิมา หากจะแปลี้เป็นภาษาไท์ย ควิรต้้อง

             พิจารณาเลี้่อกควิามหมายให้คนไท์ยเข้้าใจ เพราะคำศััพท์์นี�จะหมายรวิมถฺึงวิิธีี อำง /อัง/ “ป้�ง ย�าง” แลี้ะวิิธีี
             อบ� /อ็อบ/ “อบ” กลี้�าวิค่อ

                    ถฺ้าเป็นการเผาสััต้วิ์ท์ั�งต้ัวิในท์ี�โลี้�ง รัศัมีควิามร้อนข้องไฟแผ�กระจาย หมายถฺึงวิิธีี “ป้�ง ย�าง” เช้�น
                                                        ็
                              มาน�ฎุุตบงฺวิิลี้ /ม็วิน ดด บ็อง-เวิิลี้/ “ไก�เผาหมุน” (ไก�ย�างหมุน)”
                              พแพฎุุต /โป-แป ดด/ “แพะเผา (แพะย�าง)”
                         ถฺ้าการเผานั�นอาหารอย่�ในภาช้นะท์ี�ควิามร้อนออกไปไม�ได้ หมายถฺึงวิิธีี “อบ” เช้�น

                              ท์าฎุุตกฺร่จฉีฺมา /เต้ีย ดด โกฺรจ ชฺ้มา/ “เป็ดเผามะนาวิ (เป็ดอบมะนาวิ)”
                              สัาจ�โคฎุุตท์ึกบฺรหุก /ซัจ โก ดด ต้ึก ปฺรอ-ฮก/ “เน่�อเผาน�ำปลี้าร้า (เน่�ออบน�ำปลี้าร้า)”

                              มาน�ฎุุตตฺ้รย่ง /ม็วิน ดด ตฺ้รอ-โยง/ “ไก�เผาหัวิปลี้ี (ไก�อบหัวิปลี้ี)”
                              มาน�ฎุุตก่กา /ม็วิน ดด โก-กา/ “ไก�เผาโคลี้�า (ไก�อบโค้ก)”

                              นํฎุุต /นุม ดด/ “ข้นมเผา (ข้นมอบ)”
                              ฎํํฬู่งบารำงฎุุต /ด็อม-โลี้ง บา-รัง ดด/ “มันฝรั�งเผา (มันฝรั�งอบ)”

                    ปัจจุบันอาหารประเภท์ “อบ” โดยเฉีพาะข้นมอบประเภท์ต้�าง ๆ ซึ�งเป็นอิท์ธีิพลี้จากต้ะวิันต้กกำลี้ัง
             มีบท์บาท์ต้�อวิิถฺีช้ีวิิต้คนเข้มรค�อนข้้างมาก มีเคร่�องอบ เต้าอบ สัำหรับใช้้อบอาหารหร่อข้นม ภาษาเข้มรเรียก

             เต้าอบอาหารวิ�า มาสัีนฎุุต /มา-ซีน ดด/ “เคร่�องเผา (เคร่�องอบ เต้าอบ)”
                              ุ
                    ๔.๕  อบ่ /อ็อบ/ “อบ” พจนานุกรมเข้มร ให้ควิามหมายวิ�า “ท์ำให้ต้ิดกลี้ิ�น เช้�น อบดอกไม้ อบควิัน

             เท์ียน” (พุท์ธีสัาสันบณฺฑิิตฺ้ย, ๑๙๖๗ : ๑๖๗๒) แสัดงวิ�าคำศััพท์์นี�แต้�เดิมไม�ได้มีควิามหมายเกี�ยวิกับการประกอบ
             อาหารแต้�อย�างใด แต้�ปัจจุบันพบวิ�ามีการใช้้คำ อบ� /อ็อบ/ สั่�อควิามหมายวิ�า “อบ” เป็นช้่�ออาหาร ๒-๓ ช้นิด

             ปรากฏอย่�ในรายการอาหารข้องภัต้ต้าคาร ร้านอาหาร แลี้ะในเอกสัารโฆืษณา ได้แก�
                              บงฺคาอบ่มีสััวิ /บ็อง-เกีย อ็อบ มี-ซัวิ/ “กุ้งอบวิุ้นเสั้น”

                              กฺฎํามอบ่ต้ำงหุน /กฺดาม อ็อบ ต้ัง-ฮุน/ “ป่อบวิุ้นเสั้น”
                              ขฺ้ยงอบ่ฉีฺนำงฎํี /คฺยอง อ็อบ ชฺ้นัง เด็ย/ หอยอบหม้อดิน”

                    การประกอบอาหารแม้ในภาพรวิมจะเป็นวิิธีีเดียวิกัน แต้�ก็มีรายลี้ะเอียดแลี้ะมีปัจจัย ต้�าง ๆ ท์ี�แต้กต้�าง
             กันอย่�บ้าง จึงใช้้คำศััพท์์ท์ี�แต้กต้�างกัน อาหารท์ี�ประกอบสัำเร็จออกมาจึงมีลี้ักษณะต้�างกันด้วิย ผ่้ใช้้ภาษาจึงต้้อง

             เลี้่อกใช้้คำศััพท์์ให้ถฺ่กต้้อง เพ่�อให้สัามารถฺสั่�อสัารให้เข้้าใจได้ต้รงกัน เช้�น
                              สัาจ�ชฺ้ร่กอำง    /ซัจ จฺร่ก อัง/    “เน่�อหม่ย่าง (หม่ย�าง)”

                              สัาจ�ชฺ้ร่กฎุุต   /ซัจ จฺร่ก ดด/   “เน่�อหม่เผา (หม่อบ)”
                              ชฺ้ร่กไขฺว        /จฺร่ก คฺวัย/   “หม่ย่าง (หม่หัน)”
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206