Page 139 - 47-3
P. 139

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๓ กัันยายน–ธัันวาคม ๒๕๖๕
             ศาสตราจารย์์ นพ.ก้้องเก้ีย์รติ  กู้ณฑ์์ก้ันทราก้ร                               131


             peroneal nerve ท่�หล้ังเท้าใกล้้กับขึ้้อ่เท้า แล้ะวัด้การตุอ่บสนอ่งท่�กล้้ามเน้�อ่ extensor digitorum

             brevis โด้ยเริ�มจำากการตุรวจำขึ้้างเด้่ยวก่อ่น หากพบว่าปรกตุิจำะตุรวจำอ่่กขึ้้างหน่�งเพ้�อ่เปร่ยบเท่ยบ

             หากแอ่มพล้ิจำ้ด้ปรกตุิทั�ง ๒ ขึ้้าง จำะถู้อ่ว่ากล้้ามเน้�อ่ปรกตุิ หากล้ด้ล้งขึ้้างใด้ขึ้้างหน่�งจำะถู้อ่ว่าผู้ิด้ปรกตุิ
             แล้้วพิจำารณาตุรวจำกล้้ามเน้�อ่ด้้วยเขึ้็มตุ่อ่ไป การตุรวจำน่�ใชั้เวล้าสั�นล้งมากแล้ะสะด้วกกว่าการตุรวจำไฟื้ฟื้้า
             กล้้ามเน้�อ่หร้อ่อ่่เอ่็มจำ่วิธ์่เด้ิม (Latronico et al., 2014)


             การป้อ่งกันแล้ะรักษา
                     การรักษาท่�สำาคัญท่�สุด้ค้อ่การควบคุมโรคเด้ิม โด้ยเฉัพาะการตุิด้เชั้�อ่ท่�รุนแรงให้ได้้เร็ว

             ล้ด้ปฏิิกิริยาการอ่ักเสบแล้ะล้ด้ปัจำจำัยเส่�ยงตุ่าง ๆ โด้ยร่วมกับการรักษาแบบประคับประคอ่ง ไม่ว่าจำะเป็น

             การใชั้ยาหร้อ่เวชัศึาสตุร์ฟื้้�นฟื้้ (Zorowitz, 2016) ซ้่�งพอ่จำะแยกได้้เป็นขึ้้อ่ ๆ ด้ังน่�
                     ๑.  การใช้อ่ินซู้ล้ินเพ้�อ่คำวบคำุมระดับนำ�าตุาล้ในเล้้อ่ดอ่ย่างเข้้มงวด
                       การรักษาด้้วยอ่ินซ้้ล้ินม่เป้าหมายให้ระด้ับนำ�าตุาล้อ่ย้่ในระด้ับ ๘๐-๑๑๐ มิล้ล้ิกรัม/เด้ซ้ิล้ิตุร

             (๔.๔–๖.๑ มิล้ล้ิโมล้/ล้ิตุร) ซ้่�งจำะสามารถูล้ด้อุ่บัตุิการณ์ขึ้อ่งโรคเส้นประสาทเหตุุภาวะวิกฤตุหร้อ่ซ้่ไอ่พ่

             หร้อ่โรคกล้้ามเน้�อ่เหตุุวิกฤตุหร้อ่ซ้่ไอ่เอ่็มได้้ประมาณร้อ่ยล้ะ ๓๕-๔๐ สามารถูล้ด้ระยะเวล้าท่�ใชั้เคร้�อ่ง
             ชั่วยหายใจำ ระยะเวล้าท่�อ่ย้่ใน ICU ล้ด้การเส่ยชั่วิตุในโรงพยาบาล้แล้ะการเส่ยชั่วิตุท่� ๑๘๐ วัน แม้ว่า
             จำะม่ผู้ล้ขึ้้างเค่ยงจำากนำ�าตุาล้ในเล้้อ่ด้ตุำ�าได้้บ่อ่ย แตุ่มักไม่ทำาให้เส่ยชั่วิตุ (Bilan et al., 2012) อ่ย่างไรก็ตุาม

             จำำาเป็นตุ้อ่งตุิด้ตุามผู้้้ป่วยอ่ย่างใกล้้ชัิด้มาก ปัจำจำุบันจำ่งม่การศึ่กษาเพ้�อ่หาระด้ับนำ�าตุาล้ท่�เหมาะสมใน

             เวชัปฏิิบัตุิเพ้�อ่การน่� แล้ะม่การศึ่กษาขึ้นาด้จำำากัด้ในผู้้้ป่วยเด้็ก ซ้่�งพบว่าได้้ผู้ล้เชั่นเด้่ยวกัน (Ydemann
             et al., 2012)
                     ๒. การล้ดภาวะแทรกซู้อ่นจากการไม่เคำล้้�อ่นไหว

                       การรักษาวิธ์่น่�เริ�มจำากการใชั้ยาท่�กด้การทำางานขึ้อ่งสมอ่งให้น้อ่ยท่�สุด้ เพ่ยงเพ้�อ่ให้ผู้้้ป่วย

             สงบเท่านั�น ควรทำากายภาพบำาบัด้แล้ะกิจำกรรมบำาบัด้แก่ผู้้้ป่วยแตุ่เนิ�น ๆ เพ้�อ่ป้อ่งกันแผู้ล้กด้ทับ
             เส้นประสาทถู้กกด้ทับ หล้อ่ด้เล้้อ่ด้ด้ำาอุ่ด้ตุัน แล้ะท่�สำาคัญค้อ่กล้้ามเน้�อ่ฝ่อ่ ตุามระด้ับท่�ผู้้้ป่วยจำะกระทำาได้้
             โด้ยทำาอ่ย่างตุ่อ่เน้�อ่ง สมำ�าเสมอ่ ควรเริ�มจำากการขึ้ยับแขึ้นขึ้า หากเป็นไปได้้ควรให้ผู้้้ป่วยขึ้ยับร่างกาย

             เปล้่�ยนท่าทางเอ่งบนเตุ่ยง โด้ยยกแขึ้นขึ้า ลุ้กนั�ง ย้นขึ้้างเตุ่ยง หร้อ่ฝึกอ่อ่กกำาล้ังบนเตุ่ยง อ่าจำใชั้อุ่ปกรณ์

             ชั่วย เชั่น ปั�นจำักรยาน ควรประเมินผู้้้ป่วยเป็นระยะ ๆ แล้ะปรับระด้ับกิจำกรรมให้เหมาะสม การเคล้้�อ่นไหว
             เหล้่าน่�จำะชั่วยเสริมสร้างโปรตุ่นในการซ้่อ่มแซ้มร่างกายด้้วย โด้ยเฉัพาะผู้้้ป่วยท่�ม่กล้้ามเน้�อ่น้อ่ย
             (sarcopenia) อ่ย้่ก่อ่นแล้้ว (Phillips et al., 2017)
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144