Page 99 - วารสาร 48-1
P. 99

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
             รองศาสตราจารย์์ ดร.ศานติ ภัักดีคำำา                                             89


                     หลัักฐานประวััติิศาสติร์กัมพููชาท่�อาจำจำะนำามาใช้ศ่กษาประวััติิศาสติร์ไทยในส่วันท่�เก่�ยวัข้องกับ้

             กัมพููชาสามารถจำัด้แบ้่งออกได้้ ๓ ประเภท คือ หลัักฐานท่�เป็นศิลัาจำาร่ก หลัักฐานจำากพูระราชพูงศาวัด้าร

             แลัะหลัักฐานประวััติิศาสติร์อื�น ๆ ท่�เก่�ยวัข้องซึ่่�งม่ควัามสำาคัญ่เพูราะเป็นเอกสารชั�นติ้นอันจำะช่วัยให้
             เกิด้ควัามเข้าใจำเหติุการณ์ประวััติิศาสติร์นั�น ๆ ได้้ชัด้เจำนยิ�งข่�น เช่น จำด้หมายเหติุหรือบ้ันท่กของ
             ชาวัติ่างชาติิ เช่น สเปน ฮอลัันด้า

                     หลัักฐานประเภทศิลัาจำาร่ก โด้ยเฉพูาะศิลัาจำาร่กภาษาเขมรสมัยหลัังพูระนครท่�พูบ้ในปัจำจำุบ้ัน

             ม่จำำานวันไม่มากนัก หากเปร่ยบ้เท่ยบ้กับ้ศิลัาจำาร่กสมัยก่อนพูระนครแลัะสมัยพูระนคร แติ่ก็ถือวั่าเป็น
             หลัักฐานสำาคัญ่ท่�อาจำนำามาใช้ศ่กษาประวััติิศาสติร์สงครามไทย–กัมพููชาสมัยอยุธยาได้้ เนื�องจำาก
             ศิลัาจำาร่กสมัยหลัังพูระนครเป็นหลัักฐานชั�นติ้นท่�ร่วัมสมัยกับ้กรุงศร่อยุธยา

                     ศิลัาจำาร่กเขมรสมัยหลัังพูระนครท่�เก่�ยวัข้องกับ้ประวััติิศาสติร์ไทยเท่าท่�พูบ้ในปัจำจำุบ้ัน สามารถ

             จำัด้กลัุ่มได้้ด้ังน่�
                     ๑. ศิลัาจารึึกเขมรึสมัยหลัังพรึะนครึพบที่่�ปรึาสาที่นครึวัด (IMA–Inscriptions Modernes
             d’Angkor)

                     ศิลัาจำาร่กเขมรสมัยหลัังพูระนครพูบ้ท่�ปราสาทนครวััด้ ซึ่่�งติ่อไปจำะเร่ยก จารึึกนครึวัด

             ม่จำำานวัน ๔๐ หลััก เริ�มจำาร่กข่�นใน พู.ศ. ๒๑๐๙ ติรงกับ้รัชกาลัสมเด้็จำพูระบ้รมราชา (ร่วัมสมัยกับ้
             รัชกาลัสมเด้็จำพูระมหาจำักรพูรรด้ิแห่งกรุงศร่อยุธยา) จำนถ่ง พู.ศ. ๒๒๙๐ ติรงกับ้รัชกาลัสมเด้็จำ
             พูระธรรมราชา (องค์อิ�ม) (ร่วัมสมัยกับ้รัชกาลัสมเด้็จำพูระเจำ้าอยู่หัวับ้รมโกศแห่งกรุงศร่อยุธยา)

             ศิลัาจำาร่กนครวััด้สมัยหลัังพูระนครท่�ม่ควัามน่าสนใจำนำามาศ่กษาประวััติิศาสติร์อยุธยา ได้้แก่

                       ๑.๑ จารึึกนครึวัดสมัยหลัังพรึะนครึ ๔ (IMA 4) (พู.ศ. ๒๑๐๙) กลั่าวัถ่งการทำาบุ้ญ่ของ
             ออกหลัวังอภัยราช แลัะนักออกธรรม ควัามสำาคัญ่ของจำาร่กหลัักน่�คือกลั่าวัถ่ง “ปีเถาะ สมัยออกญ่าโอง
             ลัุถ่งปีขาลั นักพูระโองการปร่ด้่ นิพูพูาน” (อุไรศร่ วัรศะริน, ๒๕๔๒ : ๑๔๖)

                       ติำาแหน่ง “ออกญ่าโอง” ในจำาร่กหลัักน่�น่าจำะได้้แก่ ออกญ่าโอง หมายถ่ง เจำ้าพูญ่าสวัรรคโลัก

             (พูระองค์โอง) ซึ่่�งสมเด้็จำพูระมหาจำักรพูรรด้ิโปรด้ให้ไปติ่เมืองลัะแวักแลั้วัสิ�นพูระชนม์จำากการรบ้
             กับ้สมเด้็จำพูระบ้รมราชาธิราช (เจำ้าพูญ่าจำันทราชา) กษัติริย์กัมพููชา ใน พู.ศ. ๒๐๙๙ ด้ังควัามในพูระราช-
             พูงศาวัด้ารกรุงศร่อยุธยา ฉบ้ับ้หลัวังประเสริฐอักษรนิติิ�วั่า “แติ่งทัพูไปลัแวัก พูญ่าองสวััรคโลักเป็น

             นายกอง...ครั�งนั�นเส่ยพูญ่าสวััรคโลักนายกอง แลัช้างม้าร่�พูลัมาก...”  (ประชิุมพงศิาวดารฉบัับั

             กาญจนัาภิเษก เล่ม ๑, ๒๕๔๒ : ๒๒๓) นักพูระโองการปร่ด้่นิพูพูาน ในจำาร่กจำ่งหมายถ่ง สมเด้็จำ
             พูระบ้รมราชาธิราช (เจำ้าพูญ่าจำันทราชา) ซึ่่�งสวัรรคติเมื�อปีขาลั พู.ศ. ๒๑๐๙ นั�นเอง
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104