Page 169 - วารสาร 48-1
P. 169
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
ศาสตราจารย์์ ดร.ณรงค์์ฤทธิ์์� ธิ์รรมบุุตร 159
ผู้ป็ระพันธ์เล้อกใชี้กลุ่มโน้ตสามพยางค์ (triplet) บรรเลงในรูป็แบบจัังหวะขัด (syncopation)
โดยกำาหนดให้บทบาทอยู่ที�กลุ่มเคร้�องลมไม้ เพ้�อให้เสียงลอยออกมาและมีความโดดเด่นต่างจัากกลุ่ม
เคร้�องสายที�บรรเลงป็ระกอบอยู่เบ้�องล่าง ทำาให้ทำานองทั�ง ๒ แนวมีลักษณะเหม้อนบรรเลงอัตราความเร็ว
ที�แตกต่างกัน เป็รียบดังเสียงของโนราที�ได้ยินจัากระยะไกล ท่ามกลางบรรยากาศของชีนบทจัาก
อาณาจัักรศรีวิชีัย ในห้องที� ๒๒–๒๔ ทำานองหลักที� ๑ จัะค่อย ๆ มีความเข้มเสียง (dynamics) ที�ดังขึ�น
เป็รียบเสม้อนการได้ยินเสียงการบรรเลงดนตรีโนราที�ค่อย ๆ ชีัดเจันขึ�น
ในชี่วงถุัดมาผู้ป็ระพันธ์ได้นำาเทคนิคการป็ระพันธ์ของลีลาสอดป็ระสาน (counterpoint)
มาใชี้ระหว่างไวโอลินแนวที� ๑–๒ ซิึ�งลีลาของทำานองดังกล่าวได้ผสมผสานมาจัากดนตรีโนราเชี่นเดียวกัน
ขณะที�เสียงของคอร์ดกลองมโหระทึกนั�นก็ยังคงบรรเลงยำ�าอยู่ในแนวดับเบิลเบสและฮาร์ป็เสียงตำ�า
(ห้องที� ๑๕)
ภาพท่� ๔ ลีลาสอดป็ระสานในแนวเคร้�องสาย ห้องที� ๑๔–๑๗
เสียงป็ระสานในชี่วงนี� ผู้ป็ระพันธ์ได้เล้อกใชี้บันไดเสียง E เอโอเลียน หร้อ E ไมเนอร์แบบเนเชีอรัล
ซิึ�งเป็็นเสียงที�พบได้ในดนตรีพ้�นบ้าน (ภาพที� ๔)
ขณะเดียวกัน เม้�อดนตรีดำาเนินมาถุึงชี่วงระหว่างห้องที� ๒๖–๒๘ มีการผสมผสานกันของหลาก
บันไดเสียง ดังเชี่นในห้องที� ๒๖ ศูนย์กลางเสียงซิึ�งน่าจัะอยู่ที� E แต่เม้�อวิเคราะห์แล้วจัะพบว่ามีการใชี้
บันไดเสียงผสมกันระหว่างบันไดเสียง E ไอโอเนียน (E เมเจัอร์) กับ E มิกโซิลิเดียน ซิึ�งมีความ
แตกต่างกันระหว่างโน้ต D# กับ D เนเชีอรัล ผู้ป็ระพันธ์ได้นำาลักษณะที�แตกต่างกันของบันไดเสียง