Page 15 - วารสาร 48-1
P. 15

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
             รองศาสตราจารย์์กรรณิิการ์  วิิมลเกษม                                              5


                     นอักจากนี�ยังพบจารึกอัักษรพราหมีีบริเวณสำ่วนต้่าง ๆ ขอังสำถึูป็ เช่น ที่ี�สำถึูป็สำาญจีมีีจารึกสำั�น ๆ

             กว่า ๒๐๐ จารึกที่ี�บอักชื�อับุคคลผู้ถึวายที่าน พบอัยู่ต้ามีรั�วหิน ที่างเดิน และสำ่วนป็ระกอับอัื�น ๆ ขอัง
             สำถึูป็ จารึกกลุ่มีนี�มีีอัายุหลังสำมีัยพระเจ้าอัโศก  แต้่ยังคงมีีรูป็อัักษรเหมีือันกัน

                     อัักษรและภาษาในำจ้ารึกขอังพระเจ้้าอัโศก
                     จารึกพระราชโอังการขอังพระเจ้าอัโศกกระจายอัย่างกว้างขวาง ต้ั�งแต้่ที่างต้ะวันอัอักขอัง
             อััฟกานิสำถึาน ที่างต้ะวันต้กเฉียงเหนือัขอังป็ากีสำถึาน จนถึึงในป็ระเที่ศอัินเดีย จากที่างต้อันเหนือัลงมีา

             ที่างต้อันใต้้ถึึงรัฐอัานธีรป็ระเที่ศและรัฐกรณาฏกะ (Karnataka) และที่างต้ะวันต้กจากรัฐคุชราต้
             (Gujrat) และมีหาราษฏระ (Maharashtra) ไป็ถึึงรัฐโอัฑิิศา (Odisha) หรือัโอัริสำสำา (Orissa) ที่ี�อัยู่ที่าง

             ต้ะวันอัอัก และในป็ระเที่ศเนป็าลในบริเวณชายแดนที่ี�ต้ิดกับป็ระเที่ศอัินเดียซึ่ึ�งพบจารึกบนเสำาหิน
             ๒ เสำา  ต้ัวอัักษรที่ี�ใช้ในจารึกพระราชโอังการขอังพระเจ้าอัโศกมีี ๔ ชนิด บันที่ึก ๓ ภาษา  ซึ่ึ�งแต้กต้่าง
             กันไป็ต้ามีอัักษรและภาษาขอังแต้่ละที่้อังถึิ�น  ที่ั�งนี�เพื�อัให้ฝ่่ายป็กครอังขอังแต้่ละที่้อังถึิ�นเข้าใจสำามีารถึ

             นำาไป็ป็ฏิบัต้ิในการป็กครอังดูแลบ้านเมีือังต้ามีพระราชโอังการได้อัย่างถึูกต้้อัง และยังเป็็นการกำาหนด
             เขต้ขอังอัาณาจักรเพราะโดยมีากจะพบจารึกในเมีือังที่ี�เป็็นเขต้ชายแดน (Upasak, 2002: 262,

             Singh, 2020 และ Rahman, Inayat-Ur-and Naeem, Mohammad, 2000: 2–12) ดังต้ารางต้่อัไป็นี�

             ตารางที� ๑  อัักษร ภาษา และแหล่งที่ี�พบจารึกพระเจ้าอัโศก

                            อัักษร                       ภาษา                  แหล่งที�พบ

              อัักษรพราหมีี  (Brāhmī script)   ภาษาป็รากฤต้             อัินเดีย, เนป็าล

              อัักษรขโรษฐี (Khroshthī script)  ภาษาป็รากฤต้             ป็ากีสำถึาน, อััฟกานิสำถึาน
              อัักษรกรีก (Greek script)        ภาษากรีก                 อััฟกานิสำถึาน

              อัักษรแอัราเมีอัิก (Aramaic script)   ภาษาแอัราเมีอัิก    อััฟกานิสำถึาน, ป็ากีสำถึาน

                     อัักษรพราหมีีที่ี�ใช้บันที่ึกภาษาป็รากฤต้พบเป็็นบริเวณกว้างขวางเกือับที่ั�งป็ระเที่ศอัินเดีย

             รวมีที่ั�งในป็ระเที่ศเนป็าลบริเวณชายแดนที่ี�ต้ิดกับป็ระเที่ศอัินเดีย จึงมีีจารึกอัักษรพราหมีีเป็็นจำานวนมีาก
             ซึ่ึ�งแสำดงให้เห็นว่าอัักษรพราหมีีและภาษาป็รากฤต้เป็็นต้ัวอัักษรและภาษาที่ี�ชนชั�นป็กครอังขอังอัินเดีย
             ในสำมีัยนั�นใช้กันโดยที่ั�วไป็ในทีุ่กภูมีิภาค สำ่วนในป็ากีสำถึานบริเวณแคว้นคันธีาระ และที่างต้ะวันอัอัก

             ขอังอััฟกานิสำถึานในเมีือังกันดาฮาร์ (Kandahar) แมี้พบจารึกจำานวนน้อัยแต้่ใช้อัักษรถึึง ๓ ชนิด
             บันที่ึก ๓ ภาษาที่ี�ชนชั�นป็กครอังในบริเวณนี�ใช้ ได้แก่ อัักษรขโรษฐีบันที่ึกภาษาป็รากฤต้ อัักษรกรีก

             บันที่ึกภาษากรีก และอัักษรแอัราเมีอัิกบันที่ึกภาษาแอัราเมีอัิก (ดูภาพจารึกอัักษรแอัราเมีอัิกใน
             ภาคผนวกที่ี� ๑ หน้า ๑๗)
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20