Page 14 - วารสาร 48-1
P. 14

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
           4                                                               อัักษรพราหมีีสมีัยพระเจ้้าอัโศก



                    หลังจากที่ี�พระเจ้าอัโศกสำิ�นพระชนมี์ไป็แล้วไมี่ถึึง ๕๐ ป็ี อัาณาจักรเมีารยะก็ล่มีสำลายเพราะ
           ต้กอัยู่ในอัำานาจขอังอัาณาจักรศุงคะ (Shunga) เมีื�อัป็ระมีาณ พ.ศ. ๓๕๘ รวมีเวลาที่ี�กษัต้ริย์ราชวงศ์

           เมีารยะป็กครอังอัินเดียคือัป็ระมีาณ ๑๔๐ ป็ี

           อัักขรวิิทยาขอังอัักษรพราหมีีสมีัยพระเจ้้าอัโศก

                    วิัสดิุที�ใช้้ในำจ้ารึกพระเจ้้าอัโศก
                    วัสำดุที่ี�ใช้ในการจารึกพระราชโอังการขอังพระเจ้าอัโศก คือั หิน จึงที่ำาให้อัยู่คงที่นมีาได้กว่า

           ๒,๐๐๐ ป็ี จนถึึงป็ัจจุบัน  ดานี (Dani, 1986: 31–32) อัธีิบายเกี�ยวกับหินที่ี�ใช้ว่ามีี ๒ ลักษณะ คือั
           แผ่นหินซึ่ึ�งในจารึกใช้คำาว่า “silāphalaka” (สำิลาผลก) และเสำาหินใช้คำาว่า “silāthaṃbha” (สำิลาถึำภ)

           แผ่นหินนั�นเป็็นก้อันหินต้ามีธีรรมีชาต้ิที่ี�ขัดหน้าให้เรียบหรือัเป็็นผนังถึำ�า อัาจเป็็นหินแกรนิต้
           หินควอัต้ซึ่์ และหินชนิดอัื�น ๆ ต้ามีที่ี�มีีในที่้อังถึิ�น และมีีขนาดต้ามีความีสำั�นยาวขอังข้อัความี

           สำ่วนเสำาหินมีีลักษณะเป็็นเสำากลมีสำูง มีีสำ่วนป็ระกอับ ๒ สำ่วน คือั สำ่วนต้ัวเสำา กับหัวเสำา  ต้ัวเสำาสำกัดจาก
           หินที่รายที่่อันเดียวจากเมีือังจุนาร์ (Chunar) กลึงให้กลมีและขัดมีัน หัวเสำาแยกต้่างหากจากต้ัวเสำา

           สำลักเป็็นรูป็สำัต้ว์ ได้แก่ สำิงโต้ วัว ช้าง และมี้า หรือัเป็็นธีรรมีจักร อัยู่บนฐานบัว หรือัฐานสำี�เหลี�ยมีที่ี�มีีเดือัย
           สำำาหรับนำามีาสำวมีกับต้ัวเสำา ความีสำูงขอังเสำาอัยู่ที่ี�ป็ระมีาณ ๑๒–๑๕ เมีต้ร แต้่ละเสำาอัาจมีีนำ�าหนัก

           มีากถึึง ๕๐ ต้ัน  หมี่อัมีเจ้าสำุภัที่รดิศ  ดิศกุล ที่รงอัธีิบายถึึงที่ี�มีาและลักษณะขอังเสำาหินว่า ได้รับอัิที่ธีิพล
           จากศิลป็ะสำมีัยราชวงศ์อัาเคเมีนีด ขอังเป็อัร์เซึ่ีย ดังความีว่า


                          ...มีีลักษณะใกล้เคียงกับเสำาที่ี�เมีือังเป็อัร์เซึ่โป็ลิสำในป็ระเที่ศอัิหร่าน ที่ั�งในด้าน
                    บัวหัวเสำารูป็ดอักบัว และในด้านการขัดจนขึ�นเงา บัวหัวเสำามีักรอังรับกลุ่มีรูป็สำัต้ว์ลอัยต้ัว

                    เป็็นต้้นว่าสำิงห์กำาลังทีู่นธีรรมีจักร เสำาเหล่านี�อัาจสำร้างขึ�นก่อันสำมีัยพระเจ้าอัโศก
                    หรือัสำมีัยเดียวกับพระอังค์ และเดิมีคงใช้เป็็นเสำามีีความีหมีายว่ารอังรับพระอัาที่ิต้ย์คือั

                    เป็็นเสำาศูนย์กลางขอังโลก และในขณะเดียวกันก็เป็็นเครื�อังหมีายแห่งพระจักรพรรดิ
                    คือัเป็็นรัต้นะป็ระการ ๑ ขอังพระอังค์ด้วย ลักษณะลวดลายละเอัียดขอังเสำาเหล่านี�

                    บ่งถึึงอัิที่ธีิพลขอังศิลป็ะสำมีัยราชวงศ์อัาเคเมีนีด.
                                                          (สุภัทรดิิศิ  ดิิศิกุล, ๒๕๑๙ : ๕๓–๕๔)


                    ป็ัจจุบันพบจารึกพระเจ้าอัโศกบนแผ่นหินและผนังถึำ�าจำานวน ๒๓ หลัก และพบเสำาหินที่ี�มีีจารึก
           ๑๒ เสำา (Upasak, 2002: 261–262)
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19