Page 16 - 22-0722 EBOOK
P. 16

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๓  กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๔
           6                                                      ปลาดุุก : ทรััพยากรัชีีวภาพทรังคุุณคุ่าของไทย


           ข้องปลาดุุกบัิ�กอุยข้ึ�นอยู่กับัพื้ันธุุกรรมแบับับัว่กสะสมข้องปลาดุุกยักษ์์และปลาดุุกอุยเป็นสำาคืัญ ส่ว่น

           ปฏิสัมพื้ันธุ์ระหว่่างพื้ันธุุกรรมข้องพื้่อแม่นั�นมีอิทธุิพื้ลน้อย (Chaivichoo et al., 2020) ซึ่ึ�งแสดุงว่่า

           ถึ้าใช้พื้ันธุุ์พื้่อและแม่ที�มีพื้ันธุุกรรมข้องการเจริญเต่ิบัโต่ดุี ก็จะไดุ้ปลาดุุกบัิ�กอุยที�เจริญเต่ิบัโต่ดุีดุ้ว่ย
           แม้ผู้ว่ิจัยจะไดุ้มีหมายเหตุ่ไว่้ว่่า ผลที�ไดุ้นี�อาจจำาเพื้าะแก่ประชากรปลาที�ใช้ในการศึกษ์าคืรั�งนี� แต่่ใน
           ภาพื้รว่มไดุ้แสดุงให้เห็นคืว่ามสำาคืัญข้องพื้ันธุุกรรมข้องพื้่อแม่พื้ันธุุ์


           ปรัะโยชีน์์ของคุวามหลากหลายทางพัน์ธุุกรัรัม
                    เป็นที�ยอมรับักันทั�ว่ไปแล้ว่ว่่า ว่ิธุีการปรับัปรุงพื้ันธุุ์โดุยการคืัดุเล้อก (selection) และผสมข้้าม

           (cross breeding หร้อ hybridization) นั�นเป็นว่ิธุีการที�ไดุ้ผลที�สุดุและไม่มีผลข้้างเคืียงเร้�องการ

           ไม่ยอมรับัข้องผู้บัริโภคื  เช่นที�เกิดุข้ึ�นแก่สัต่ว่์และพื้้ชที�ปรับัปรุงพื้ันธุุ์โดุยว่ิธุีเทคืโนโลยีชีว่ภาพื้ การคืัดุเล้อก
           ช่ว่ยให้ผลผลิต่ข้องปศุสัต่ว่์เพื้ิ�มข้ึ�นอย่างมาก (Hill, 2016) ในสัต่ว่์นำ�านั�นมีต่ัว่อย่างคืว่ามสำาเร็จในการเลี�ยง
           ปลาแอต่แลนต่ิกแซึ่ลมอน (Atlantic salmon) ปลานิล และกุ้งข้าว่ มีผลให้การเลี�ยงสัต่ว่์นำ�าเหล่านี�

           ข้ยายต่ัว่อย่างมโหฬาร

                    การปรับัปรุงพื้ันธุุ์ดุ้ว่ยการคืัดุเล้อกนั�นมีหลักการว่่า ประชากรที�ใช้ต่้องมีคืว่ามหลากหลาย
           ทางพื้ันธุุกรรมข้องลักษ์ณิะนั�น ๆ สูงเพื้ียงพื้อ การคืัดุเล้อกจึงจะก้าว่หน้า สามารถึยกระดุับัคื่าเฉลี�ย
           ข้องลักษ์ณิะเป้าหมายไดุ้ต่ามต่้องการ ในการปรับัปรุงพื้ันธุุ์สัต่ว่์นำ�านั�น ผู้ว่ิจัยมักนำาประชากรสัต่ว่์นำ�า

           จากแหล่งธุรรมชาต่ิหลาย ๆ แหล่ง และประชากรจากการเพื้าะเลี�ยงที�คืาดุว่่าจะมีพื้ันธุุกรรมต่่างกัน

           (ถึ้ามี) มาผสมเข้้าดุ้ว่ยกัน เพื้้�อเพื้ิ�มคืว่ามหลากหลายข้องพื้ันธุุกรรม ว่ิธุีการเช่นนี�ใช้ไดุ้ผลดุีเป็นที�ประจักษ์์
           ในการปรับัปรุงพื้ันธุุ์สัต่ว่์นำ�าที�ประสบัคืว่ามสำาเร็จอย่างสูงและส่งผลกระทบัเชิงบัว่กไปทั�ว่โลก อันไดุ้แก่
           ปลานิลสายพื้ันธุุ์ GIFT (Genetically Improved Farmed Tilapia) ซึ่ึ�งนำาปลาจากฟาร์มเพื้าะเลี�ยง

           และแหล่งนำ�าธุรรมชาต่ิประเภทละ ๔ แหล่งมาผสมกัน (Bentsen et al., 1998) การปรับัปรุงพื้ันธุุ์ปลา

           แอต่แลนต่ิกแซึ่ลมอนในประเทศนอร์เว่ย์ โดุยนำาปลาจากแม่นำ�าสายต่่าง ๆ ๔๑ สายมาสร้างประชากร
           เริ�มต่้น (Gunnes and Gjedrem, 1978) และการปรับัปรุงพื้ันธุุ์กุ้งข้าว่แปซึ่ิฟิกข้องสถึาบัันสมุทรศาสต่ร์
           (Oceanic Institute) สหรัฐอเมริกา ใช้กุ้งจากประเทศต่่าง ๆ รว่ม ๕ แหล่งมาสร้างประชากรเริ�มต่้น

           (Argue et al., 2002) เหล่านี�เป็นต่ัว่อย่างที�ดุีข้องการใช้ประโยชน์ทรัพื้ยากรพื้ันธุุกรรม
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21