Page 20 - 22-0722 EBOOK
P. 20

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๓  กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๔
           10                                                     ปลาดุุก : ทรััพยากรัชีีวภาพทรังคุุณคุ่าของไทย


                    ส่ว่นปลาดุุกยักษ์์นั�น พื้ันธุุกรรมข้องปลาชนิดุนี�ถึูกละเลยต่ลอดุมา แม้แต่่ในประเทศที�เลี�ยง

           ปลาดุุกยักษ์์อย่างเป็นลำ�าเป็นสัน เช่น ประเทศไนจีเรีย [ผลผลิต่ต่่อปีประมาณิ ๑๕๙,๙๑๑ ต่ัน ใน

           พื้.ศ. ๒๕๕๙ (FAO, 2011-2020)] ก็ไม่พื้บัรายงานการใช้ประโยชน์ทรัพื้ยากรพื้ันธุุกรรม ในประเทศไทย
           นั�นพื้บัว่่าประชากรในฟาร์มเพื้าะเลี�ยงที�มีคืว่ามแต่กต่่างทางพื้ันธุุกรรมเป็นเช้�อพื้ันธุุกรรมที�ดุี เม้�อนำามา
           ผสมเข้้าดุ้ว่ยกันเพื้้�อสร้างประชากรพื้้�นฐานสำาหรับัใช้ในการคืัดุเล้อกเพื้้�อปรับัปรุงพื้ันธุุ์ พื้บัว่่าประชากร

           พื้้�นฐานที�ไดุ้มีคืว่ามแปรปรว่นข้องยีนแบับับัว่กสะสมข้องลักษ์ณิะการเจริญเต่ิบัโต่ในระดุับัปานกลาง

           (คื่าอัต่ราพื้ันธุุกรรมข้องลักษ์ณิะการเจริญเต่ิบัโต่ เท่ากับั ๐.๒๕-๐.๓๕, Srimai et al., 2019) ซึ่ึ�งเป็นคื่า
           ในช่ว่งที�มีรายงานสำาหรับัปลาทั�ว่ ๆ ไป และเม้�อคืัดุเล้อกเพื้้�อปรับัปรุงลักษ์ณิะการเจริญเต่ิบัโต่ไป
           ๑ ชั�ว่อายุ ประชากรจากการคืัดุเล้อกก็เจริญเต่ิบัโต่เพื้ิ�มข้ึ�นถึึงร้อยละ ๑๐ (Srimai et al., 2020)


           บทสรัุป
                    จากที�ไดุ้กล่าว่มาทั�งหมดุจะเห็นไดุ้ว่่าประเทศไทยมีทรัพื้ยากรข้องปลากลุ่มปลาดุุกที�มีคืว่าม

           หลากหลายสูง ทั�งในระดุับัชนิดุและระดุับัคืว่ามหลากหลายทางพื้ันธุุกรรม ดุ้านคืว่ามหลากหลาย

           ทางชนิดุนั�น  มีการนำาปลาดุุก ๒ ชนิดุมาใช้ในการเพื้าะเลี�ยง  โดุยมีอีกอย่างน้อย ๑ ชนิดุที�มีศักยภาพื้ที�จะ
           พื้ัฒนาการเลี�ยงเชิงพื้าณิิชย์ คื้อ ปลาดุุกลำาพื้ัน (สุภฎา คืีรีรัฐนิคืม และอานุช คืีรีรัฐนิคืม, ๒๕๕๕) ส่ว่น
           คืว่ามหลากหลายทางพื้ันธุุกรรมนั�นยังนำามาใช้ประโยชน์ไม่เต่็มที� ในข้ณิะที�คืว่ามหลากหลายดุังกล่าว่

           กำาลังเส้�อมโทรมลงต่ามลำาดุับั

                    ดุังนั�น สิ�งที�คืว่รรีบัทำาคื้อการอนุรักษ์์ โดุยเฉพื้าะปลาดุุกอุย อย่างน้อยคืว่รอนุรักษ์์ทรัพื้ยากร
           พื้ันธุุกรรมต่ามกลุ่มพื้ันธุุกรรมที�แบั่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ไดุ้ ๓ กลุ่ม คื้อ ประชากรลุ่มนำ�าเจ้าพื้ระยา
           ประชากรลุ่มนำ�าโข้ง และประชากรลุ่มนำ�าในคืาบัสมุทร-มาเลย์ (ภาคืใต่้และภาคืต่ะว่ันออกข้องประเทศ)

           (Na-Nakorn et al., 2004) ในข้ณิะที�ปลาดุุกดุ้านคืว่รอนุรักษ์์อย่างน้อย ๒ ประชากร คื้อ ประชากร

           ลุ่มนำ�าเจ้าพื้ระยา-ประชากรลุ่มนำ�าโข้ง และประชากรในภาคืใต่้ข้องไทย (อัธุยา  อรรถึอินทรีย์ และคืณิะ,
           ๒๕๔๔)
                    การอนุรักษ์์ทำาไดุ้หลายว่ิธุี เช่น การจัดุให้มีพื้้�นที�อนุรักษ์์ การเพื้าะพื้ันธุุ์เพื้้�อนำาไปปล่อย

           แต่่ในกรณิีปลาดุุก การอนุรักษ์์ที�น่าจะทำาไดุ้ง่ายและไดุ้ผลดุีคื้อการอนุรักษ์์ในพื้้�นที� โดุยจัดุให้มีแหล่งนำ�า

           เพื้้�อการอนุรักษ์์ รว่บัรว่มพื้ันธุุ์ปลาดุุกอุยหร้อปลาดุุกดุ้านในท้องถึิ�น มีมาต่รการป้องกันการรุกลำ�าข้อง
           ปลาดุุกต่่างถึิ�น โดุยเฉพื้าะปลาดุุกยักษ์์และปลาลูกผสมบัิ�กอุย และต่้องมีการศึกษ์าเพื้้�อต่ิดุต่ามคืว่าม
           หลากหลายทางพื้ันธุุกรรม ซึ่ึ�งจะบัอกถึึงคืว่ามสมบัูรณิ์ข้องประชากร
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25