Page 13 - 22-0722 EBOOK
P. 13
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๓ กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๔
ศาสตราจารย์์ ดร.อุุทััย์รัตน์์ ณ น์คร 3
บทน์ำา
ปลาดุุกเป็นปลาพื้้�นเม้องที�คืนไทยนิยมบัริโภคืมาช้านานแล้ว่ โดุยที�คืนส่ว่นใหญ่รู้จักปลาดุุก
เพื้ียง ๒ ชนิดุ คื้อ ปลาดุุกอุยและปลาดุุกดุ้าน ที�จริงแล้ว่ปลาดุุก ซึ่ึ�งหมายถึึงปลาในสกุล Clarias (ว่งศ์
Clariidae) ประกอบัดุ้ว่ยปลาจำานว่นมากถึึง ๖๑ ชนิดุ ในจำานว่นนี� ๒๙ ชนิดุแพื้ร่กระจายอยู่ในแหล่งนำ�าจ้ดุ
ในทว่ีปเอเชีย (เอเชียต่ะว่ันออกเฉียงใต่้ และเอเชียต่ะว่ันออก) และพื้บัในทว่ีปแอฟริกา ๓๒ ชนิดุ (Froese
& Pauly, 2019) โดุยเป็นปลานำ�าจ้ดุสกุลเดุียว่เท่านั�นที�พื้บัทั�ง ๒ ทว่ีป ในประเทศไทยนั�นจนถึึงปัจจุบััน
มีรายงานการพื้บัปลาในสกุล Clarias จำานว่น ๗ ชนิดุ ไดุ้แก่ ปลาดุุกอุย (Clarias macrocephalus
Günther, 1864) ปลาดุุกดุ้าน [C. aff. batrachus ‘Indochina’ (Linneaus, 1758)] ปลาดุุกเอ็น
[C. cf. batrachus Linneaus, (1758)] ปลาดุุกลำาพื้ันต่ะว่ันออก (C. gracilentus Ng, Dang & Nguyen,
2011) ปลาดุุกลำาพื้ัน [C. nieuhofii (Val., in Cuv. & Val., 1840)] ปลามอดุ [C. cataractus Fowler,
(1939)] และปลาดุุกเน้�อเลน (C. meladerma Bleeker, 1846) (สำานักงานนโยบัายและแผนทรัพื้ยากร
ธุรรมชาต่ิและสิ�งแว่ดุล้อม, ๒๕๖๓) อนึ�ง ปลาดุุกดุ้าน C. aff. batrachus ‘Indochina’ นั�นเป็น
ปลาต่่างชนิดุกับั C. batrachus ที�แพื้ร่กระจายอยู่ในเอเชียใต่้ แม้ลักษ์ณิะภายนอกจะคืล้ายคืลึงกัน
แต่่จำานว่นโคืรโมโซึ่มแต่กต่่างกันเท่าต่ัว่ โดุยที� C. aff. batrachus ‘Indochina’ มีโคืรโมโซึ่ม ๑๐๔ แท่ง
(Maneechot et al., 2016) แต่่ C. batrachus ในเอเชียใต่้มีโคืรโมโซึ่มเพื้ียง ๕๔ แท่ง (Yaqoob
et al., 2012)
ในคืว่ามเป็นจริง ปลาดุุกในประเทศไทยอาจมีจำานว่นชนิดุมากกว่่านี� หากสำารว่จให้กว่้างข้ว่าง
มากยิ�งข้ึ�น อย่างไรก็ต่าม ปลาดุุกที�มีคืว่ามสำาคืัญทางเศรษ์ฐกิจจากอดุีต่จนถึึงปัจจุบัันมีเพื้ียงปลาดุุกอุย
และปลาดุุกดุ้าน ในบัทคืว่ามนี�จึงข้อกล่าว่ถึึงปลา ๒ ชนิดุนี� และปลาดุุกยักษ์์ [C. gariepinus (Burchell,
1822)] ซึ่ึ�งเป็นปลาดุุกที�นำาเข้้าจากทว่ีปแอฟริกาเท่านั�น
พัฒน์าการัของการัเพาะเลี�ยงปลาดุุก
ประเทศไทยนับัเป็นประเทศแรกในโลกที�พื้ัฒนาการเพื้าะเลี�ยงปลาดุุกเชิงพื้าณิิชย์ โดุยปรากฏ
รายงานผลผลิต่ปลาดุุกในสถึิต่ิการเพื้าะเลี�ยงสัต่ว่์นำ�าข้อง FAO เป็นคืรั�งแรกใน พื้.ศ. ๒๕๒๗ [Food and
Agriculture Organization of The United Nations (FAO), 2011–2020] ระยะนั�นปลาดุุกที�เลี�ยง
มีเพื้ียงชนิดุเดุียว่ คื้อ ปลาดุุกดุ้าน ซึ่ึ�งแม้จะไดุ้รับัคืว่ามนิยมจากผู้บัริโภคืน้อยกว่่าปลาดุุกอุย แต่่เน้�องจาก
ในข้ณิะนั�นเกษ์ต่รกรไดุ้พื้ัฒนาว่ิธุีการเพื้าะพื้ันธุุ์ปลาดุุกดุ้านโดุยการเพื้าะเลี�ยงเลียนแบับัธุรรมชาต่ิ สามารถึ
เพื้าะเลี�ยงลูกปลาไดุ้ในปริมาณิมาก เพื้ียงพื้อแก่การเลี�ยงเชิงพื้าณิิชย์ จึงทำาให้การเลี�ยงปลาดุุกดุ้าน