Page 11 - 22-0722 EBOOK
P. 11

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                         ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๓  กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๔
             ศาสตราจารย์์ ดร.อุุทััย์รัตน์์ ณ น์คร                                             1


                 ปลาดุุก : ทรััพยากรัชีีวภาพทรังคุุณคุ่าของไทย





                                                                  ศาสตรัาจารัย์ ดุรั.อุทัยรััตน์์ ณ น์คุรั

                                                                      ภาคีีสมาชิิก สำานัักวิิทยาศาสตร์์
                                                                                  ร์าชิบััณฑิิตยสภา

                                                                ภาคีวิิชิาเพาะเลี้ี�ยงสัตวิ์นัำ�า คีณะปร์ะมง
                                                                          มหาวิิทยาลี้ัยเกษตร์ศาสตร์์



               บทคััดย่่อ
                                ปลาดุุกหมายถึึงปลาในสกุล Clarias ประเทศไทยมีปลาดุุกพื้้�นเม้อง ๗ ชนิดุ แต่่มีเพื้ียง
                         ๒ ชนิดุที�ไดุ้นำามาใช้ประโยชน์ในการเพื้าะเลี�ยง คื้อ ปลาดุุกอุย (Clarias macrocephalus

                         Günther, 1864) และปลาดุุกดุ้าน [C. aff. batrachus ‘Indochina’ (Linneaus, 1758)]
                         ปัจจุบัันปลาดุุกที�เลี�ยงเชิงพื้าณิิชย์เป็นปลาลูกผสมระหว่่างแม่ปลาดุุกอุยกับัพื้่อปลาดุุกยักษ์์
                         [C. gariepinus (Burchell, 1822)] ซึ่ึ�งเป็นปลานำาเข้้าจากทว่ีปแอฟริกา แม้ว่่าปลาลูกผสมจะมี
                         คืว่ามสำาคืัญทางเศรษ์ฐกิจ โดุยมีผลผลิต่ต่่อปีสูงกว่่า ๑๐๐,๐๐๐ ต่ัน แต่่การเพื้าะเลี�ยงไม่ไดุ้
                         พื้ัฒนาเท่าที�คืว่ร โดุยเฉพื้าะดุ้านพื้ันธุุกรรมข้องพื้่อแม่พื้ันธุุ์ ผลจากการว่ิจัยแสดุงว่่า พื้่อแม่พื้ันธุุ์
                         มีคืว่ามสำาคืัญแก่การเจริญเต่ิบัโต่ข้องปลาดุุกลูกผสม โดุยมีผลในเชิงบัว่กสะสม จึงจำาเป็นต่้อง
                         พื้ัฒนาพื้ันธุุกรรมข้องปลาดุุกอุยและปลาดุุกยักษ์์ ในการสร้างประชากรที�มีฐานพื้ันธุุกรรม
                         กว่้างเพื้้�อการปรับัปรุงพื้ันธุุ์ดุ้ว่ยการคืัดุเล้อกนั�น จำาเป็นต่้องใช้ปลาที�มีพื้ันธุุกรรมแต่กต่่างกัน
                         ทั�งจากธุรรมชาต่ิและโรงเพื้าะฟักมาผสมกัน  ปลาดุุกอุยเคืยมีคืว่ามหลากหลายทางพื้ันธุุกรรมสูง

                         และแบั่งออกเป็นกลุ่มประชากรใหญ่ ๆ ๓ กลุ่ม ปลาดุุกดุ้านมีคืว่ามหลากหลายน้อยกว่่าและ
                         แบั่งออกเป็น ๒ กลุ่ม ส่ว่นปลาดุุกยักษ์์ในประเทศไทยก็มีคืว่ามหลากหลายในระดุับัหนึ�ง และ
                         ไดุ้นำามาสร้างประชากรเริ�มต่้นที�มีคืว่ามหลากหลายทางพื้ันธุุกรรมสูง อีกทั�งใช้ในการปรับัปรุงพื้ันธุุ์
                         ดุ้ว่ยว่ิธุีการคืัดุเล้อก  ในปัจจุบัันยังไม่มีการใช้ประโยชน์ทรัพื้ยากรพื้ันธุุกรรมข้องปลาดุุกอุยและ
                         ปลาดุุกดุ้านเท่าที�คืว่ร ในข้ณิะที�ประชากรปลาดุุกเส้�อมโทรมลงอย่างรว่ดุเร็ว่ จึงคืว่รอนุรักษ์์
                         ปลาดุุกอย่างเร่งดุ่ว่น และศึกษ์าลักษ์ณิะต่่าง ๆ ที�มีคืุณิคื่า เพื้้�อใช้ประโยชน์อย่างเต่็มที�ต่่อไป

                         คัำ�สำำ�คััญ :  ปลาดุุกอุย ปลาดุุกดุ้าน ปลาดุุกยักษ์์ การเพื้าะเลี�ยง คืว่ามหลากหลายทางพื้ันธุุกรรม
                                  การปรับัปรุงพื้ันธุุ์ การอนุรักษ์์
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16