Page 19 - 22-0722 EBOOK
P. 19

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                         ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๓  กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๔
             ศาสตราจารย์์ ดร.อุุทััย์รัตน์์ ณ น์คร                                             9


                     “ปลาดุุกดุ้าน์” จากการศึกษ์าดุ้ว่ยไอโซึ่ไซึ่ม์ ในช่ว่งเว่ลาเดุียว่กับัการศึกษ์าปลาดุุกอุย พื้บัว่่า

             ปลาดุุกดุ้านมีคืว่ามหลากหลายทางพื้ันธุุกรรมภายในประชากรต่ำ�ากว่่าปลาดุุกอุย (อัธุยา  อรรถึอินทรีย์

             และคืณิะ, ๒๕๔๔) ซึ่ึ�งแสดุงถึึงศักยภาพื้ที�ดุ้อยกว่่าในการปรับัต่ัว่ต่่อสภาพื้คืว่ามเปลี�ยนแปลงข้อง
             สิ�งแว่ดุล้อม ประชากรปลาดุุกดุ้านแบั่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ไดุ้เพื้ียง ๒ กลุ่ม คื้อ ประชากรลุ่มนำ�า
             เจ้าพื้ระยา-ประชากรลุ่มนำ�าโข้ง และประชากรลุ่มนำ�าในคืาบัสมุทรไทย-มาเลย์  ในปัจจุบัันพื้บัเห็นปลาดุุก

             ดุ้านในธุรรมชาต่ิข้องประเทศไทยน้อยมาก ซึ่ึ�งคืงเกิดุจากสาเหตุ่คืล้าย ๆ กับัที�เกิดุแก่ปลาดุุกอุย

             เพื้ราะปลาทั�ง ๒ ชนิดุนี�มีถึิ�นที�อยู่แบับัเดุียว่กัน
                     “ปลาดุุกยักษ์์” สำาหรับัปลาดุุกยักษ์์นั�น แม้จะไม่ใช่ปลาพื้้�นเม้องข้องไทย แต่่ไดุ้นำาเข้้ามาเลี�ยง
             นานกว่่า ๓๐ ปีแล้ว่ และมีคืว่ามสำาคืัญแก่เศรษ์ฐกิจในแง่ที�เป็นพื้่อพื้ันธุุ์ในการเพื้าะลูกปลาดุุกบัิ�กอุย

             คืว่ามหลากหลายทางพื้ันธุุกรรมข้องปลาชนิดุนี�จึงมีคืว่ามสำาคืัญ  หลักฐานจากการศึกษ์าไมโทคือนเดุรียล

             ดุีเอ็นเอ (mitochondrial DNA) แสดุงว่่าปลาดุุกยักษ์์ในประเทศไทยถึูกนำาเข้้ามาจากแหล่งต่่าง ๆ
             อย่างน้อย ๒ แหล่ง ไดุ้แก่ สาธุารณิรัฐแอฟริกากลาง (Central African Republic) (โดุยผ่านทางรัสเซึ่ีย
             เว่ียดุนาม และลาว่ ต่ามลำาดุับั) และจากประเทศอียิปต่์ (ผ่านทางสาธุารณิรัฐประชาชนจีน) (Li et al.,

             2000) จึงเช้�อไดุ้ว่่าจะมีคืว่ามหลากหลายทางพื้ันธุุกรรมในระดุับัหนึ�ง จากการศึกษ์าดุ้ว่ยเคืร้�องหมาย

             พื้ันธุุกรรมไมโคืรแซึ่เทลไลต่์ (microsatellite) ในปลาดุุกยักษ์์จากโรงเพื้าะฟัก ๔ แห่งที�มีประว่ัต่ิ
             การเพื้าะเลี�ยงปลาชนิดุนี�ยาว่นานเกิน ๑๐ ปี พื้บัว่่ามีคืว่ามแต่กต่่างกันถึึง ๕ จาก ๖ คืู่ประชากร
             (Wachirachaikarn and Na-Nakorn, 2019)


             การัใชี้ปรัะโยชีน์์จากคุวามหลากหลายทางพัน์ธุุกรัรัมใน์ปลาดุุก
                     ปลาดุุกในประเทศไทยมีการใช้ประโยชน์คืว่ามหลากหลายทางพื้ันธุุกรรมน้อยมาก โดุยเฉพื้าะ

             ปลาดุุกอุยและปลาดุุกดุ้านนั�น แม้จะมีคืว่ามหลากหลายทางพื้ันธุุกรรมในระดุับัสูง (ข้้อมูล พื้.ศ. ๒๕๔๗)

             ดุังไดุ้กล่าว่มาแล้ว่ แต่่การนำามาใช้ประโยชน์ยังไม่เต่็มที� แม้จะมีรายงานการปรับัปรุงพื้ันธุุ์ปลาดุุกอุย
             อยู่บั้าง แต่่โคืรงการเหล่านั�นก็ไม่ไดุ้นำาเช้�อพื้ันธุุกรรมที�มีอยู่อย่างหลากหลายในธุรรมชาต่ิมาใช้สร้าง
             ประชากรพื้้�นฐาน ส่ว่นปลาดุุกดุ้านนั�น อาจกล่าว่ไดุ้ว่่า ในประเทศไทยยังไม่เคืยมีการใช้ประโยชน์

             ทรัพื้ยากรพื้ันธุุกรรมข้องปลาดุุกชนิดุนี�เลย นอกจากนั�น ยังไม่ปรากฏว่่ามีคืว่ามพื้ยายามในการอนุรักษ์์

             ทรัพื้ยากรพื้ันธุุกรรมเหล่านี�แต่่อย่างใดุ
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24