Page 145 - 22-0722 EBOOK
P. 145
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๓ กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๔
ศาสตราจารย์์ ดร.เกศินีี โชติวานีิช และคณะ 135
จากชื้ายแดนฝ้ั�งตั้ะวัันออกของไที่ย/ฝ้ั�งตั้ะวัันตั้กของกัมพ้ชื้า ค่าเฉีลี�ยป็รีะสิที่ธิภูาพการียับยั�ง (IC )
50
ของอารี์ที่ีซึ่้เนตั้โดยวัิธี TMI เที่่ากับ ๖.๘ นาโนกรีัมตั้่อมิลลิลิตั้รี เที่ียบกับค่า ๑.๕ นาโนกรีัมตั้่อมิลลิลิตั้รี
จากวัิธีดั�งเดิมขององค์การีอนามัยโลก ผู้ลของ IC โดยวัิธี TMI นี�สัมพันธ์กับการีตั้อบสนองตั้่อยา
50
อารี์ที่ีซึ่้เนตั้ในผู้้้ป็่วัย ควัามสัมพันธ์ที่างคลินิกนี�ตั้รีวัจไม่พบโดยวัิธีดั�งเดิมขององค์การีอนามัยโลก นอกจากนี�
ยังพบด้วัยวั่าเชื้่�อด่�อยาดังกล่าวัมีควัามไวัตั้่อยาอารี์ที่ีซึ่้เนตั้ดีข่�น ข้อม้ลนี�ชื้ี�ให้เห็นวั่า การีด่�อยา
อารี์ที่ีซึ่้เนตั้ของเชื้่�อฟััลซึ่ิพารีัมเกิดจากการีด่�อยาของเชื้่�อรีะยะตั้ัวัอ่อน ซึ่่�งสนับสนุนงานวัิจัยของ
คณ์ะผู้้้วัิจัยในการีที่ำานายป็ัจจัยที่ี�มีผู้ลให้เกิดการีด่�อยากลุ่มอนุพันธุ์อารี์ที่ิมิซึ่ินิน การีศ่กษานี�ที่ำาให้คณ์ะ
ผู้้้วัิจัยสามารีถรีะบุเชื้่�อมาลาเรีียที่ี�ด่�อยาอารี์ที่ีซึ่้เนตั้ได้โดยใชื้้ค่า IC ในวัิธี TMI ซึ่่�งนำาไป็ส้่การีศ่กษา
50
กลไกการีเกิดการีด่�อยาอารี์ที่ีซึ่้เนตั้ของเชื้่�อฟััลซึ่ิพารีัมได้อย่างตั้่อเน่�อง เพรีาะถ้าเรีาเข้าใจกลไกการีเกิด
การีด่�อยาอารี์ที่ีซึ่้เนตั้ ก็จะชื้่วัยให้สามารีถควับคุมและเฝ้้ารีะวัังการีด่�อยามาลาเรีีย พัฒนายา และ
ใชื้้ยารีักษาไข้มาลาเรีีย โดยเฉีพาะกับเชื้่�อมาลาเรีียด่�อยาหลายชื้นิด ตั้ลอดจนสามารีถกำาจัดไข้มาลาเรีีย
ให้หมดไป็ตั้ามนโยบายองค์การีอนามัยโลกและกรีะที่รีวังสาธารีณ์สุขของไที่ยได้อย่างยั�งย่น วัิธี TMI นี�
สามารีถวััดรีะดับป็รีะสิที่ธิภูาพของยาอารี์ที่ีซึ่้เนตั้ได้แม่นยำา และเป็็นวัิธีที่างห้องป็ฏิิบัตั้ิการีที่ี�ให้ผู้ล
สอดคล้องกับภูาวัะด่�อยาอารี์ที่ีซึ่้เนตั้ในผู้้้ป็่วัยมาลาเรีีย นอกจากนี� ยังมีการีพัฒนาวัิธีการีตั้รีวัจหาเชื้่�อ
มาลาเรีียที่ี�ด่�อยาอารี์ที่ีซึ่้เนตั้อย่างตั้่อเน่�อง เชื้่น Ring Survival Assay (RSA) (Witkowski et al.,
2013 : 1043) อาศัยหลักการีเลียนแบบภูาวัะที่ี�เชื้่�อมาลาเรีียอย้่ในรี่างกายมนุษย์ภูายหลังจากได้รีับ
ยาอารี์ที่ีซึ่้เนตั้ โดยเลี�ยงเชื้่�อรีะยะตั้ัวัอ่อนในอาหารีเลี�ยงเชื้่�อที่ี�มียาอารี์ที่ีซึ่้เนตั้ขนาด ๗๐๐ นาโนโมลารี์
บ่มเป็็นรีะยะเวัลา ๔-๖ ชื้ั�วัโมง แล้วัป็ั�นเอาอาหารีเลี�ยงเชื้่�อที่ี�มียาอารี์ที่ีซึ่้เนตั้ออก ใส่อาหารีเลี�ยง
เชื้่�อใหม่และเพาะเลี�ยงตั้่อไป็อีกจนเชื้่�อแบ่งตั้ัวัแล้วัเข้าส้่เม็ดเล่อดแดงใหม่ วัิเครีาะห์ผู้ลโดยวััดอัตั้รีา
การีรีอดชื้ีวัิตั้ของเชื้่�อ และหาจำานวันของเชื้่�อที่ี�รีอดชื้ีวัิตั้จากการีสัมผู้ัสกับยาอารี์ที่ีซึ่้เนตั้ ถ้ามีจำานวัน
ส้งมาก เชื้่�อก็ยิ�งด่�อยามาก ควัามแม่นยำาของผู้ลที่ี�ได้จากการีที่ำาวัิธี RSA นี�จะลดลง ถ้าเชื้่�อตั้ั�งตั้้นมีอายุ
มากกวั่า ๖ ชื้ั�วัโมง จะมีขั�นตั้อนการีป็ั�นเหวัี�ยงเพิ�มข่�น และจะใชื้้เวัลาในการีที่ดลองถ่ง ๗๒ ชื้ั�วัโมง
จ่งอาจจะไม่สะดวักแก่การีที่ำาในพ่�นที่ี�การีรีะบาดหรี่อในภูาคสนาม ป็ัจจุบันนี�ได้มีการีตั้รีวัจหาการี
กลายพันธุ์ยีนส์ Kelch 13 (K13) ของเชื้่�อมาลาเรีียด่�อยาอารี์ที่ีซึ่้เนตั้โดยใชื้้วัิธีที่างโมเลกุลชื้ีวัภูาพ
ควับค้่ไป็ด้วัย (Ariey et al., 2014 : 50; Vachot-Ganée et al., 2018 : 175) การีวัิเครีาะห์ควัามไวั
ของเชื้่�อมาลาเรีียตั้่อยารีักษามาลาเรีียจะให้ผู้ลที่ี�มีควัามหลากหลาย ข่�นอย้่กับวัิธีที่ี�ใชื้้ (ตั้ารีางที่ี� ๑)
ป็ัจจัยตั้่าง ๆ ค่อ ป็รีิมาณ์เชื้่�อตั้ั�งตั้้น (Duraisingh et al., 1999 : 435) อาหารีและรีะยะเวัลาที่ี�เพาะ
เลี�ยงเชื้่�อ (Monatraukul et al., 2010 : 326) อีกที่ั�งควัามไวัในการีออกฤที่ธิ�ของยา (Wein et al.,