Page 141 - 22-0722 EBOOK
P. 141
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๓ กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๔
ศาสตราจารย์์ ดร.เกศินีี โชติวานีิช และคณะ 131
ซึ่่�งสอดคล้องกับแผู้นขององค์การีอนามัยโลกที่ี�ตั้้องการีลดจำานวันผู้้้ป็่วัยโรีคมาลาเรีีย และที่ำาให้มาลาเรีีย
หมดไป็ในบางพ่�นที่ี� จ่งมีควัามจำาเป็็นอย่างยิ�งที่ี�จะตั้้องตั้รีวัจหาเชื้่�อมาลาเรีียที่ี�ด่�อยาให้ได้ รีวัมที่ั�งพยายาม
ยับยั�งการีแพรี่กรีะจายเชื้่�อด่�อยาไป็พ่�นที่ี�อ่�น มิฉีะนั�นจะที่ำาให้การีรีักษามาลาเรีียที่ี�มีป็รีะสิที่ธิภูาพเกิดข่�น
ได้ยาก และการีลดการีตั้ิดเชื้่�อมาลาเรีียจะที่ำาได้ยากเชื้่นกัน
การตรวัจหาเชื้้�อมาลาเรียทีี�ด้�อยา
การีตั้รีวัจหาเชื้่�อมาลาเรีียที่ี�ด่�อยาสามารีถที่ำาได้ด้วัยวัิธีหลัก ๆ รีวัม ๒ วัิธี ค่อ (๑) การีตั้อบสนอง
ตั้่อการีรีักษาของผู้้้ป็่วัย (in vivo response) โดยด้จากรีะยะเวัลาที่ี�ไข้หายไป็ (fever clearance time)
และ (๒) อัตั้รีาการีลดลงของเชื้่�อมาลาเรีียในกรีะแสโลหิตั้ (parasite clearance half-life) ภูายหลังจาก
ได้รีับยารีักษามาลาเรีีย และการีป็รีะเมินควัามไวัของเชื้่�อมาลาเรีียตั้่อยารีักษามาลาเรีียในหลอดที่ดลอง
(in vitro sensitivity test) การีพิส้จน์วั่าเชื้่�อมาลาเรีียด่�อยาหรี่อไม่ โดยการีด้การีตั้อบสนองตั้่อการีรีักษา
ของผู้้้ป็่วัยนั�น ข่�นอย้่กับป็ัจจัยหลายป็รีะการี เชื้่น การีตั้อบสนองที่างภู้มิคุ้มกันของผู้้้ป็่วัย ป็รีิมาณ์ยา ป็ัจจัย
ที่างเภูสัชื้จลนศาสตั้รี์ (pharmacokinetics) และการีเป็ลี�ยนแป็ลงที่างพันธุกรีรีมของเชื้่�อ (drug
resistance genes) การีชื้ี�ชื้ัดวั่าเชื้่�อมาลาเรีียด่�อยาจะตั้้องนำาป็ัจจัยเหล่านี�มาวัิเครีาะห์เพ่�อรีายงานวั่า
เชื้่�อด่�อยาอย่างแที่้จรีิง อย่างไรีก็ตั้าม การีศ่กษาวัิเครีาะห์รีวับรีวัมผู้ลให้ครีบทีุ่กป็ัจจัยนั�นที่ำาได้ยาก
ด้วัยข้อจำากัดของกำาลังคน งบป็รีะมาณ์ เครี่�องม่อ และเที่คโนโลยีรีะดับส้งที่ี�ยังไม่เพียงพอ วัิธีมาตั้รีฐาน
ที่ี�ใชื้้ตั้ิดตั้ามการีด่�อยาของเชื้่�อมาลาเรีียและนิยมใชื้้กันมากจนถ่งป็ัจจุบันนี�ก็ค่อการีศ่กษาควัามไวัของ
เชื้่�อมาลาเรีียในหลอดที่ดลอง เน่�องจากสะดวักและรีวัดเรี็วั ควับคุมป็ัจจัยอ่�น ๆ ได้ สามารีถที่ำาซึ่ำ�าได้
และที่ดสอบกับยาหลายชื้นิดได้ในเวัลาเดียวักัน ในที่ี�นี�จะกล่าวัถ่งวัิธีที่างห้องป็ฏิิบัตั้ิการีที่ี�ป็รีะเมิน
ควัามไวัของเชื้่�อมาลาเรีียตั้ามเที่คนิคมาตั้รีฐานขององค์การีอนามัยโลกซึ่่�งมีหลายวัิธี (WHO, 2007)
และพอสรีุป็ได้ดังนี�
๑) วัิธี Schizont maturation inhibition หรี่อที่ี�เรีียกอีกชื้่�อหน่�งวั่า WHO microtest assay
เป็็นวัิธีดั�งเดิมที่ี�คิดค้นครีั�งแรีกโดย Bass (1922 : 289) โดยที่ดสอบกับยาควัินินที่ี�ควัามเข้มข้นค่าเดียวั
อาศัยหลักการียับยั�งการีเจรีิญของเชื้่�อจากรีะยะตั้ัวัอ่อน (ring) ไป็ส้่รีะยะตั้ัวัแก่ หรี่อไชื้ซึ่อนตั้์ (schizont)
ตั้่อมาได้มีการีพัฒนาและที่ดสอบกับยาหลายชื้นิดหลายควัามเข้มข้น (Bras and Deloron, 1983 : 447;
Rieckmann et al., 1978 : 23) โดยใส่เชื้่�อมาลาเรีียลงในในเพลตั้ ๙๖ หลุมที่ี�มียาชื้นิดตั้่าง ๆ ในรีะดับ
ควัามเข้มข้นตั้่าง ๆ กัน จากนั�นนำาเพลตั้ไป็เพาะเลี�ยงตั้ามมาตั้รีฐานเป็็นเวัลา ๒๔ ชื้ั�วัโมง เม่�อครีบเวัลา
แล้วันำาตั้ัวัอย่างจากเพลตั้มาเตั้รีียมฟัิล์มเล่อดหนาและบาง (Thick thin smear) แล้วัจ่งนับป็รีิมาณ์