Page 56 - 46-1
P. 56
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
48 การพิิจารณาความชอบและการแต่่งต่้�งขุุนนางไทยในอดีีต่
เทียบก้บคุณสมบ้ต่ิขุองต่ำาแหน่งสำาค้ญ ๆ ในป็ัจจุบ้น ยกต่้วอย่างเช่น ร้ฐธรรมน่ญแห่งราชอาณาจ้กรไทย
พิุทธศึ้กราช ๒๕๖๐ กำาหนดีให้ผ่่้มีสิทธิสม้ครร้บเลือกต่้�งเป็็นสมาชิกสภาผ่่้แทนราษฎร ต่้องมีคุณสมบ้ต่ิ
ป็ระการหนึ�งคือ มีอายุไม่ต่ำ�ากว่า ๒๕ ป็ีน้บถึงว้นเลือกต่้�ง (มาต่รา ๙๗) สมาชิกวุฒิิสภาต่้องมีคุณสมบ้ต่ิ
ป็ระการหนึ�งคือ มีอายุไม่ต่ำ�ากว่า ๔๐ ป็ีในว้นสม้ครร้บเลือก (มาต่รา ๑๐๘) ร้ฐมนต่รีต่้องมีคุณสมบ้ต่ิ
ป็ระการหนึ�งคือ มีอายุไม่ต่ำ�ากว่า ๓๕ ป็ี (มาต่รา ๑๖๐) จะเห็นว่าช่วงอายุขุองบุคคลที�ถือว่าเป็็นผ่่้ใหญ่
สมควรแก่ต่ำาแหน่งหน้าที�ราชการสำาค้ญในบ้านเมืองขุองอดีีต่และป็ัจจุบ้นมีความใกล้เคียงก้น
คุณสมบ้ต่ิสำาค้ญป็ระการที� ๓ คือ คุณวุฒิิ (คุณวุทธิ) น้�น กฎหมายเก่ากำาหนดีไว้ว่าต่้องมี
ความร่้ชำานิชำานาญท้�งฝ่่ายทหารและฝ่่ายพิลเรือน ป็ัจจุบ้นหากกล่าวถึงคุณวุฒิิ โดียท้�วไป็ย่อมเขุ้าใจว่า
เป็็นผ่่้มีความร่้ต่ามวุฒิิทางการศึึกษาในระดี้บใดี ในอดีีต่ย้งไม่มีการกำาหนดีระดี้บผ่่้มีคุณวุฒิิทางการศึึกษา
ช้ดีเจนเช่นป็ัจจุบ้น แต่่คงส้นนิษฐานไดี้ว่ามีหล้ก หรือวิธีการทดีสอบ หรือต่รวจสอบว่าเป็็นผ่่้มีความร่้
ดี้านใดีถึงระดี้บใดี เช่น ป็รากฏิหล้กฐานในเรื�อง พระไชิยเสนัา เป็็นต่ำาราสำาหร้บขุ้าราชการควรป็ระพิฤต่ิ
ในคำาให้การขุุนหลวงว้ดีป็ระดี่่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง ความว่า
ข้อ ๖ ผู้่้เป็นัมุขมนัตรีพ้งใหั้วิจารณะด้วยปัญญาอันัสุขุมใหั้พ้งร่้กำาลังตนั
กำาลังท่านั กำาลังปัญญา กำาลังพาหันัะ ใหั้รอบัร่้จักคีุณานัุร่ปฐานัานัุร่ปแหั่งทหัาร
ไพร่พลทั�งหัลาย ว่าบัุคีคีลผู้่้นัั�นัมีคีุณอย่างนัั�นัคีนัโนั้นัมีคีุณอย่างนัี� และใหั้ไกร
ตราตร้กตรองตรวจด่ หัม่่พิริยะโยธาพลากรทั�งปวงว่าผู้่้นัี�มีกำาลัง ผู้่้นัี�หัากำาลังมิได้
ผู้่้นัี�มีคีุณวุฒิ ผู้่้นัี�หัาคีุณวุฒิมิได้ ผู้่้นัี�มีศิลปศาสตร์ ผู้่้นัี�หัาศิลปศาสตร์มิได้ ผู้่้นัั�นัผู้่้นัี�
มีคีุณศิลปศาสตร์จะคีวรกับัอาการอย่างไร ใหั้พ้งแจ้งทุกประการ จะได้ชิุบัเลี�ยง
ผู้่้นัั�นัตามสมคีวรกับัคีวามดีและกำาลังผู้่้นัั�นัๆ คีนัทั�งหัลายเหัล่านัั�นัก็จะมีนัำ�าใจ
ประกอบัในัราชิกิจยิ�งๆ ข้�นัไป ไม่ได้คีิดโทรมนััสนั้อยใจต่อราชิการ... (กรมศึิลป็ากร,
๒๕๓๕ : ๓๕)
คุณสมบ้ต่ิสำาค้ญป็ระการที� ๔ ซึ่ึ�งเป็็นป็ระการสุดีท้ายและน่าจะมีความสำาค้ญที�สุดี คือ
ป็ัญญาวุฒิิ (ป็ัญญาวุทธิ) ซึ่ึ�งกฎหมายเก่าให้ความหมายไว้ว่า “จำาเริญด้วยปัญาฉลาดในัที�จะตอบัแทนั
แก้ไขอัตถุปฤษนัาประเทษกรุงอื�นั แลคีิดอ่านัใหั้ชิอบัด้วยโลกียราชิกิจธรรมทังปวง” ซึ่ึ�งน่าจะแป็ลความ
ไดี้ว่า เป็็นผ่่้มีสต่ิป็ัญญาและป็ฏิิภาณไหวพิริบเฉัลียวฉัลาดี สามารถพิิเคราะห์ต่ริต่รองแก้ไขุป็ัญหาที�มี
สาเหตุ่มาจากบ้านเมืองอื�นให้สามารถป็ฏิิบ้ต่ิราชการท้�งป็วงต่ามหน้าที�สำาเร็จลุล่วงเป็็นป็ระโยชน์แก่
บ้านเมืองต่นไป็ไดี้โดียชอบ