Page 92 - 45-3
P. 92
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๓ กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๓
84 มลพิิษทางข่่าวสาร
มาใช้เพั่�อปัระโยีชน์ของต่นและกลุ่มพัวก ส่งข่าวสารที�ต่อบัโต่้กันด้วยีคำาพัูด ข้อเขียีน ภัาพั คลิปัวีดิโอ
ภัาพัยีนต่ร์ บัทเพัลง บัทกวี การ์ตู่น ที�เต่็มไปัด้วยีวาทกรรมเกลียีดชัง (hate speech) ปัลุกเร้าความ
รุนแรง
งานวิจัยีเร่�อง The Global Disinformation Order Global Inventory of Organized
Social Media Manipulation (Bradshaw, 2019) แห่งมหาวิทยีาลัยีออกซ์ฟอร์ด ทำาการวิเคราะห์
จากหลักฐานการรณ์รงค์ด้วยีส่�อสังคมเพั่�อควบัคุมความเห็นของปัระชาชนใน ๗๐ ปัระเทศ รวมทั�ง
ปัระเทศไทยี นักวิจัยีพับัว่า ในแต่่ละปัระเทศมีพัรรคการเม่องอยี่างน้อยี ๑ พัรรค หร่อหน่วยีงานของรัฐ
ใช้ส่�อสังคมเพั่�อจัดการวางรูปัแบับัความคิดเห็นของปัระชาชนในปัระเทศของต่น และพับัว่าใน ๒๖
ปัระเทศที�มีการปักครองแบับัอำานาจนิยีมได้ใช้วิธิีโฆษณ์าชวนเช่�อผ่านส่�อคอมพัิวเต่อร์ในการคุม
กระแสข่าวสาร ๓ วิธิี ค่อ ๑) เพั่�อกดและลดทอนกระแสการเรียีกร้องสิทธิิมนุษยีชน ๒) เพั่�อลดความ
น่าเช่�อถ่อศัต่รูทางการเม่อง และ ๓) เพั่�อปัิดกั�นหร่อลบัความคิดเห็นด้านลบัของฝุ่�ายีต่รงข้าม และ
เฟซบัุ�กค่อส่�อสังคมหลักเพั่�อการนี�ใน ๕๖ ปัระเทศ
ในปัระเทศไทยี รัฐมีเคร่�องม่อทางกฎหมายีในการจัดการกับักระแสข่าวสารฝุ่�ายีต่รงข้าม
เช่น พัระราชกำาหนดว่าด้วยีการบัริหารราชการในสถานการณ์์ฉุกเฉิน พั.ศ. ๒๕๔๘ โดยีให้อำานาจแก่
ศูนยี์อำานวยีการแก้ไขสถานการณ์์ฉุกเฉินหร่อศอฉ. ในการสั�งปัิดเว็บัไซต่์ได้โดยีไม่ต่้องอาศัยีหมายีศาล
อำานาจบัังคับัใช้ของพัระราชกำาหนดทำาให้รัฐบัาลมีเคร่�องม่อในการปัิดกั�นเว็บัไซต่์เพัิ�มข้�นนอกเหน่อจาก
พัระราชบััญญัต่ิว่าด้วยีการกระทำาผิดเกี�ยีวกับัคอมพัิวเต่อร์ พั.ศ. ๒๕๕๐ ที�มีใช้อยีู่ก่อนแล้ว ซ้�งสามารถ
ปัิดเว็บัไซต่์ได้จำานวนมาก แต่่นั�นไม่ได้หมายีความว่ามลพัิษทางข่าวสารจะหมดไปั
การโฆษณ์าชวนเช่�อยีุคข้อมูลข่าวสารนั�นแต่กต่่างจากอดีต่ สมัยีก่อนการโฆษณ์าชวนเช่�อ
เดินทางเดียีว แต่่ปััจจุบัันกลับัมีคนมากมายีเข้ามามีส่วนร่วมด้วยีการแสดงอารมณ์์ ให้ข้อมูลที�ต่นเช่�อ
โดยีไม่มีข้อพัิสูจน์ และขยีายีปัระเด็นออกไปัผ่านเคร่อข่ายีออนไลน์ ซ้�งเอลิเซียี แวนเลสส์ และ
ไมเคิล เบัิร์ก (Alicia Wanless and Michael Berk) เรียีกว่า การโฆษณ์าชวนเช่�อแบับัมีส่วนร่วม
(participatory propaganda) ลักษณ์ะเช่นนี�ทำาให้ผู้รับัสารยีากที�จะต่รวจจับัได้ว่าใครค่อผู้ส่งสาร
เหล่านั�น และส่งมาด้วยีวัต่ถุปัระสงค์ใด การโฆษณ์าชวนเช่�อมีทั�งแบับัส่งออกไปัในภัาพัรวมและมุ่ง
จุดหมายีเฉพัาะ งานวิจัยีหลายีเร่�องพับัว่า การโฆษณ์าชวนเช่�อมักไม่มีผลมากนักในการทำาให้คน
เปัลี�ยีนความเช่�อ แต่่กลับัทำาให้คนที�เช่�ออยีู่แล้วยีิ�งเช่�อมากข้�นไปัอีก
การโฆษณ์าชวนเช่�อเต่็มไปัด้วยีการกุเร่�องที�ต่รวจจับัได้ยีากเพัราะอิงเร่�องจริง แม้แต่่
คำาขวัญ “ชัวร์ก่อนแชร์” ก็ต่้านทานไว้ไม่ได้ แม้ต่รวจสอบัจากแหล่งข่าวที�น่าเช่�อถ่อแล้วหลายีครั�ง
19/1/2565 BE 08:52
_21-0851(076-096)4.indd 84 19/1/2565 BE 08:52
_21-0851(076-096)4.indd 84