Page 174 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 174
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีท่� ๔๙ ฉบับท่� ๑ มกร์าคม-เมษายน ๒๕๖๗
164 บทเพลงคอนแชร์์โตสำหร์ับอัลโตแซกโซโฟนและออร์์เคสตร์าปร์ะพันธ์์โดย ณร์งค์ฤทธ์์� ธ์ร์ร์มบุตร์
๔. คีอนัแชิร์โตมหาราชิา (Concerto Maharaja) สำหร์ับร์ะนาดัเอกและออร์์เคสตร์า ความียาว
๒๐ นาท่ ป็ร์ะพันธ์์ใน พ.ศ. ๒๕๔๒ เพ่�อร์่วมีเฉลิมีฉลองในโอกาสพร์ะร์าชพิธ์่มีหามีงคลเฉลิมีพร์ะชนมีพร์ร์ษา
๖ ร์อบ พร์ะบาทสมีเดั็จพร์ะบร์มีชนกาธ์ิเบศร์ มีหาภ้มีิพลอดัุลยเดัชมีหาร์าช บร์มีนาถึบพิตร์ เป็็นคอนแชร์์โต
สำหร์ับร์ะนาดัเอกและออร์์เคสตร์าบทท่� ๒ นำบทเพลงไทย ๔ ภาคมีาผู้สมีผู้สานกับเน่�อหาดันตร์่ในแบบคอนแชร์์-
โตตะวันตก
๕. ไวัโอลินัคีอนัแชิร์โตสังคีีตมงคีล (Violin Concerto Sankitamankala) สำหร์ับไวโอลินและ
ออร์์เคสตร์า ความียาว ๓๒ นาท่ ป็ร์ะพันธ์์ใน พ.ศ. ๒๕๔๙ เน่�องในวโร์กาสมีหามีงคลสมีัยท่�พร์ะบาทสมีเดั็จ
พร์ะบร์มีชนกาธ์ิเบศร์ มีหาภ้มีิพลอดัุลยเดัชมีหาร์าช บร์มีนาถึบพิตร์ เจร์ิญพร์ะชนมีพร์ร์ษา ๘๐ พร์ร์ษา ป็ร์ะกอบ
ดั้วย ๓ ท่อน ท่อนท่� ๑ มี่ความีพิเศษ ค่อ การ์นำเอาพร์ะนามี “ภ้มีิ” มีาใช้เป็็นโน้ตในทำนองหลัก ดัังน่� 1) อักษร์
B แป็ร์เป็็นโน้ต B 2) อักษร์ H แป็ร์เป็็นโน้ต B 3) อักษร์ U แป็ร์เป็็นโน้ต C และ 4) พยางค์ MI แป็ร์เป็็นโน้ต E
๖. นััมมทา (Narmada) คอนแชร์์โตสำหร์ับเป็ียโนและออร์์เคสตร์าเคร์่�องสาย ความียาว ๒๔ นาท่
ป็ร์ะพันธ์์ขีึ�นใน พ.ศ. ๒๕๕๔ ไดั้ร์ับแร์งบันดัาลใจจากความีเล่�อมีใสในแก่นขีองพุทธ์ศาสนา บร์ร์ยายเร์่�องร์าวท่�
เก่�ยวขี้องกับแมี่น�ำนัมีมีทาในป็ร์ะเทศอินเดั่ย ป็ร์ะกอบดั้วย ๓ ท่อนดัังต่อไป็น่� ท่อนท่� ๑ วินธ์ะยะ ท่อนท่� ๒ โลก
บาดัาล และท่อนท่� ๓ ร์อยพร์ะพุทธ์บาท มี่การ์นำทำนองจากบทสวดั “สร์ภัญญะ” มีาใช้เป็็นวัตถึุดัิบในท่อน
สุดัท้าย เพ่�อส่�อถึึงความีซาบซึ�งในแก่นขีองศาสนาพุทธ์
๗. แสงจันัทร์ (Moonlight) สำหร์ับเดั่�ยวเป็ียโนและออร์์เคสตร์าเคร์่�องสาย ความียาว ๑๒ นาท่ ป็ร์ะพันธ์์
ขีึ�นใน พ.ศ. ๒๕๕๔ บร์ร์ยายถึึงภาพขีองค�ำค่นภายใต้แสงจันทร์์ท่�มี่ทั�งความีงดังามี ความีลึกลับ และความีพิศวง
๘. เปียโนัคีอนัแชิร์โตแห่งกรุงสยาม (Piano Concerto of Siam) สำหร์ับเป็ียโนและออร์์เคสตร์า
เคร์่�องสาย ความียาว ๖๐ นาท่ ป็ร์ะพันธ์์ขีึ�นใน พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็็นบทเพลงท่�ป็ร์ะพันธ์์ต่อยอดัขีึ�นจากผู้ลงาน
การ์เร์่ยบเร์่ยงเพลงไทย ๗ เพลงสำหร์ับเดั่�ยวเป็ียโนโดัย ผู้้้ช่วยศาสตร์าจาร์ย์ พันเอก ช้ชาติ พิทักษากร์ และ
ป็ร์ะดัิษฐ์แนวเป็ียโนเดั่�ยวเพิ�มีเติมีโดัย ศาสตร์าจาร์ย์ ดัร์.ณัชชา พันธ์์ุเจร์ิญ
๙. เอเชิียนัยูโฟนัี (Asian Euphony) สำหร์ับออร์์เคสตร์าและเคร์่�องดันตร์่เอเช่ย ๕ ชิ�น ความียาว
๙ นาท่ ป็ร์ะพันธ์์ใน พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็็นงานดันตร์่ท่�นำเอาเคร์่�องดันตร์่จากตะวันออกกลาง ค่อ ดั้ดัุก (Duduk)
และอุดั (Ud) เคร์่�องดันตร์่อินเดั่ย ค่อ ซิตาร์์ (Sitar) ป็ร์ะชันกับเคร์่�องดันตร์่ไทย ค่อ จะเขี้และแคน
๑๐. อารยธรรมแห่งอุษาคีเนัย์ (Civilizations of ASEAN) สำหร์ับเคร์่�องดันตร์่อาเซ่ยนและเชมีเบอร์์
ออร์์เคสตร์า ความียาว ๓๐ นาท่ ป็ร์ะกอบดั้วย ๔ ท่อน ไดั้แก่ ท่อนท่� ๑ Prelude and Cadenza ท่อนท่� ๒
Imitation ท่อนท่� ๓ Improvisation ท่อนท่� ๔ Potpourri ป็ร์ะพันธ์์ใน พ.ศ. ๒๕๖๒ มี่เคร์่�องดันตร์่เดั่�ยว ๖
เคร์่�อง ไดั้แก่ ซอดั้วง แคน ป็ัตวาย โร์เน่ยตเอก ดัันเดัย์ และเกนดััง
๑๑. คีอนัแชิร์โตสำหรับัอัลโตแซิกโซิโฟนัและออร์เคีสตรา (Concerto for Saxophone and
Orchestra) ความียาว ๒๒ นาท่ ป็ร์ะพันธ์์ใน พ.ศ. ๒๕๖๕ ป็ร์ะกอบดั้วย ๔ ท่อนท่�บร์ร์เลงต่อเน่�องกัน
โดัยท่อนท่� ๒ ไดั้นำทำนองเพลงลาวคำหอมีและลาวดัวงเดั่อนมีาเป็็นพ่�นฐานในการ์ป็ร์ะพันธ์์ ผู้สมีผู้สานกับเทคนิค
การ์บร์ร์เลงแซกโซโฟนแบบร์่วมีสมีัย