Page 221 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 221
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่ี� ๔๘ ฉบัับัที่ี� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖
รองศาสตราจารย์์ ดร.ธีีระพร อุวรรณโณ 209
ในทางกลับกันสิ�งเร้าที�แสดงความแตื่กตื่่างในกรณีกระบวนการเสริมแรงทางลบ จากตื่ัวอย่างนายหน้�ง
ขึ้ับรถจักยานยนตื่์ขึ้้างตื่้น นายหน้�งสังเกตื่ได้ว่าวันเวลาใดที�มีรถตื่ิดมาก แสดงว่าจะตื่้องมีเจ้าหน้าที�ตื่ำรวจตื่ั�งด่าน
ตื่รวจ ซ้้�งจัดเป็นสิ�งเร้าแสดีงควิามแตกต�างได้ จ้งเบี�ยงรถจักรยานยนตื่์ไปเขึ้้าช่องทางซ้้ายเพิ่�อลดโอกาสถ่ก
เจ้าหน้าที�ตื่ำรวจออกใบสั�งในขึ้้อหาขึ้ับรถในช่องทางขึ้วา
ตัวิเสริมแรงทางลับ หมายถ้ง สิ�งหร่อสภัาวะที�มีความระคายเค่องสำหรับมนุษย์และสัตื่ว์ เช่น
ความเจ็บปวด เสียงดัง ความร้อน ความหนาวเย็น แสงสว่างจ้า แตื่่ที�จำกัดเฉพิาะมนุษย์ก็มีตื่ัวอย่าง เช่น
การอย่่ในภัาวะที�อับอายขึ้ายหน้า การถ่กตื่ำหนิหร่อบ่นจากคนอ่�น การตื่ำหนิตื่นเอง
การลังโทษ หมายถ้ง กระบวนการที�เม่�ออินทรีย์แสดงพิฤตื่ิกรรมเป้าหมายก็มีการเสนอตื่ัวเสริมแรง
ทางลบให้แก่อินทรีย์ หร่อ มีการถอนตื่ัวเสริมแรงทางบวกออกมา (สกินเนอร์, ๑๙๕๓, น. ๗๓, ๓๓๗) ตื่ัวอย่าง
ขึ้องกรณีแรก เช่น บุคคลทำผิดกฎีจราจรถ่กเจ้าหน้าที�ว่ากล่าวตื่ักเตื่่อน ส่วนกรณีหลัง เช่น บุคคลทำผิดกฎี
จราจรถ่กเจ้าหน้าที�ออกใบสั�งให้ไปเสียค่าปรับ ในนิยามนี�มีการใช้คำที�อาจทำให้เกิดความสับสนได้ ค่อ คำว่า
“ตัวิเสริมแรงทางลับ” ซ้้�งสกินเนอร์ใช้ในความหมายคล้ายกับ “สิ�งเร้าที�ระคายเค่อง” และไม่ผ่กตื่ิดกับคำหร่อ
นำไปส่่ “การเสริมแรงทางลับ” เสมอไป
๗
ทฤษฎีีการร่้คิดีทางสังคม พิัฒนาโดยอัลเบิร์ตื่ แบนด่รา (Albert Bandura, 1977, 1986) ซ้้�งพิัฒนา
มาจากทฤษฎีีการเรียนัร่้ทางสังคม (social learning theory) อีกทอดหน้�ง แนวคิดหลักเน้นที�การเรียนัร่้
จากการสังเกต (observational learning) แหล่งขึ้องการเรียนร่้อาจเป็น การกระทำ การพิ่ด การเขึ้ียน
ขึ้้อความ หร่อการวาดภัาพิโดยตื่ัวแบบจริง ตื่ัวแบบในภัาพิยนตื่ร์ ตื่ัวแบบในรายการโทรทัศน์ ตื่ัวแบบในส่�อ
ตื่่าง ๆ เช่น หนังส่อ วิทยุ อินเทอร์เน็ตื่ ผนังโบสถ์ ผนังถ�ำ ทั�งนี�ตื่ัวแบบอ่�นในทฤษฎีีนี�หมายความรวมถ้งบุคคล
ตื่ัวการ์ตื่่นหร่อภัาพิแอนิเมชันที�เป็นภัาพิแทนผ่้ใหญ่ วัยรุ่น เด็ก หร่อสัตื่ว์ เช่น ตื่ัวการ์ฟ้ีลด์ โดราเอมอน
แบนด่ราได้นิยาม ตัวิแบบ (model) ว่าหมายถ้ง “กระบวินัการทำให้เหม่อนัทางจิตใจ” (psychological
matching processes) (แบนด่รา, ๑๙๘๖, น. ๔๙) ซ้้�งมีความหมายกว้างกว่าการเลัียนัแบบ (imitation)
เพิราะบุคคลสามารถเรียนร่้จากการสังเกตื่ตื่ัวแบบได้ โดยไม่จำเป็นตื่้องแสดงพิฤตื่ิกรรมตื่ามตื่ัวแบบในทันที
เพิียงแตื่่จดจำการกระทำขึ้องตื่ัวแบบไว้ได้ แล้วอาจนำมากระทำในภัายหลัง ก็เรียกว่าเกิดการเรียนร่้จาก
การสังเกตื่แล้ว
การนัำหลัักการปรับพื่ฤติกรรมมาใช้้ในัการเสริมสร้างวิินััยจราจรเพื่่�อควิามอย่�ดีีมีสุขในัสังคมไทย
๑) คำขวิัญหนั่�งที�มีการใช้้ในัสังคมไทยมานัานัแลั้วิ ค่อ “วิินััยเริ�มต้นัที�บ้านั สอนัลั่กหลัานัให้มีวิินััย” คำขึ้วัญนี�
ยังถ่กตื่้องและทันสมัยจนถ้งทุกวันนี� ตื่ัวอย่างที�ยกมาขึ้้างตื่้นเร่�องพิ่อสอนล่กให้หยุดให้คนขึ้้ามที�ทางม้าลาย
ย�ำเร่�องนี�ได้อย่างดี พิ่อ แม่ พิี� ผ่้ใหญ่ สามารถสอนเด็กได้ดี ทั�งสอนด้วยวาจาและการแสดงแบบอย่างให้ด่ เม่�อล่ก
โตื่ขึ้้�นและสามารถขึ้ับรถให้พิ่อ แม่ พิี� ผ่้ใหญ่นั�งได้ ผ่้นั�งก็ควรชมเชยเม่�อล่กหยุดให้คนขึ้้ามที�ทางม้าลาย
๗ ศ้กษาเพิิ�มเตื่ิมได้จาก ธิีระพิร อุวรรณโณ และ ปรีชา วิหคโตื่ (๒๕๓๒)