Page 220 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 220
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที� ๔๘ ฉบัับัที� ๒ พื่ฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖
208 การเสริมสร้างวิินััยจราจรเพื่่�อควิามอย่�ดีีมีสุขในัสังคมไทย
ทฤษฎีีการวิางเง่�อนัไขการกระทำ ผ่้นำขึ้องทฤษฎีีการวางเง่�อนไขึ้การกระทำ ค่อ เบอร์รัส เฟ้รเดอริก
๖
สกินเนอร์ (Burrhus Frederic Skinner, 1953, 1969) แนวคิดพิ่�นฐานที�นำมาใช้ในการปรับพิฤตื่ิกรรมค่อ
การเสริมแรง (reinforcement) และการลังโทษ (punishment)
การเสริมแรง หมายถ้งกระบวนการที�เม่�ออินทรีย์ทำพิฤตื่ิกรรมหน้�งแล้วมีตัวิเสริมแรงทางบวิก
(positive reinforcer) เกิดตื่ามหลัง หร่อกระบวนการที�เม่�ออินทรีย์ทำพิฤตื่ิกรรมหน้�งแล้วสามารถไปหยุด
ตัวิเสริมแรงทางลับ (negative reinforcer) ได้ และทั�ง ๒ กรณีส่งผลให้พิฤตื่ิกรรมนั�นมีความน่าจะเป็นใน
การเกิดขึ้้�นอีกในวันขึ้้างหน้า ในสถานการณ์ที�คล้ายกัน ในทางทฤษฎีีเรียกกระบวนการแรกว่า การเสริมแรง
ทางบวิก (positive reinforcement) และกระบวนการหลังเรียกว่า การเสริมแรงทางลับ (negative
reinforcement) ทั�งนี�อินทรีย์ขึ้้างตื่้น หมายถ้ง มนุษย์และสัตื่ว์
ในกระบวินัการเสริมแรงทางลับ พิฤตื่ิกรรมที�สามารถไปหยุดตื่ัวเสริมแรงทางลบได้ เรียกว่าพิฤตื่ิกรรม
การหลัีกหนัี (escape) ตื่ัวอย่างเช่น วันหน้�งนายหน้�งทดลองเคร่�องรถจักรยานยนตื่์ที�บ้าน แตื่่เกิดเสียงดังมาก
พิ่อขึ้องนายหน้�งจ้งเดินไปที�รถจักรยานยนตื่์เพิ่�อทำให้เสียงเบาลง ในกรณีนี�จัดเป็นพิฤตื่ิกรรมการหลัีกหนัี
ส่วนในโอกาสหน้า หากอินทรีย์แสดงพิฤตื่ิกรรมก่อนที�จะเกิดตื่ัวเสริมแรงทางลบ ส่งผลให้ไปป้องกันหร่อลด
ความระคายเค่องขึ้องตื่ัวเสริมแรงทางลบลง เรียกพิฤตื่ิกรรมนี�ว่า การหลับหลัีก (avoidance) เช่น วันตื่่อมา
เม่�อนายหน้�งขึ้ับรถจักรยานยนตื่์อย่่ในช่องทางขึ้วาในถนนใหญ่ เม่�อมองไปขึ้้างหน้าก็เห็นมีรถตื่ิดอย่่เยอะ
จ้งสันนิษฐานว่าเจ้าหน้าที�ตื่ำรวจคงจะมาตื่ั�งด่านตื่รวจ นายหน้�งจ้งนำรถเบี�ยงไปเขึ้้าช่องทางซ้้าย พิฤตื่ิกรรมขึ้อง
นายหน้�งในการนำรถเขึ้้าช่องทางซ้้ายเรียกว่าพิฤตื่ิกรรมการหลับหลัีก
ตัวิเสริมแรงทางบวิก หมายถ้ง สิ�งหร่อสภัาวะที�มีความหมายทางบวกสำหรับมนุษย์และสัตื่ว์ เช่น
อาหาร นํ�า อากาศ สภัาวะความสบายกาย แตื่่ที�จำกัดเฉพิาะมนุษย์ก็มีตื่ัวอย่าง เช่น เงิน คำชมเชย ความมี
ช่�อเสียงเกียรตื่ิยศ
ในกระบวนการเสริมแรงทางบวกและการเสริมแรงทางลบ หลายกรณีจะมีสิ�งเร้าแสดีงควิามแตกต�าง
(discriminative stimulus) เกิดขึ้้�นก่อนการเสริมแรง เพิ่�อให้อินทรีย์แยกแยะได้ว่าเม่�อใดที�แสดงพิฤตื่ิกรรมแล้ว
จะได้รับตื่ัวเสริมแรงทางบวกหร่อไปหยุดตื่ัวเสริมแรงทางลบ เช่น ในกระบวนการเสริมแรงทางบวก การสอนหน่
ให้กดคานเพิ่�อให้ได้อาหารมากิน ก็สามารถมีไฟ้สีเขึ้ียวดวงหน้�งเปิดขึ้้�น หน่ก็เรียนร่้ได้ว่าเม่�อมีไฟ้สีเขึ้ียวเปิดขึ้้�น
ก็สามารถไปกดคาน ก็จะได้อาหารมากิน แตื่่ถ้าไฟ้สีเขึ้ียวไม่เปิด แม้ไปกดคานก็ไม่ได้อาหารมากิน ในผ่้ใหญ่
ตื่ัวอย่างนี�ก็ได้แก่การที�จะไปหยอดเหรียญที�ตื่่้ขึ้ายเคร่�องด่�มหร่อไม่ ผ่้ใหญ่ก็จะสังเกตื่ว่าตื่่้ขึ้ายเคร่�องด่�มนั�น ๆ มี
ไฟ้เปิดอย่่หร่อไม่ ถ้ามีไฟ้เปิดอย่่ แสดงว่าตื่่้ทำงานได้ หยอดเงินไปแล้วมีโอกาสได้เคร่�องด่�มที�ตื่้องการได้มาก แตื่่
ถ้าไฟ้ดับอย่่ ผ่้ใหญ่ก็คงจะไม่หยอดเหรียญเพิ่�อซ้่�อเคร่�องด่�ม เพิราะมีโอกาสส่ญเงินฟ้รีได้มาก เด็กก็เรียนร่้ในการ
สังเกตื่สิ�งเร้าแสดงความแตื่กตื่่างได้ เช่น พิี�สอนน้องว่าถ้าจะขึ้อเงินแม่ ให้ไปขึ้อตื่อนที�แม่อารมณ์ดีมีโอกาสที�จะ
ได้เงินมากกว่าตื่อนที�แม่อารมณ์ไม่ดี หร่อมีอารมณ์กลาง ๆ เน่�องจากพิี�เรียนร่้ว่าความมีอารมณ์ดีขึ้องแม่เป็นสิ�งเร้า
แสดงความแตื่กตื่่าง
๖ ศ้กษาเพิิ�มเตื่ิมได้จาก ธิีระพิร อุวรรณโณ และ ปรีชา วิหคโตื่ (๒๕๓๒)