Page 219 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 219
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่ี� ๔๘ ฉบัับัที่ี� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖
รองศาสตราจารย์์ ดร.ธีีระพร อุวรรณโณ 207
โทษจำคุกไม่รอลงอาญา พิร้อมสั�งเพิิกถอนใบอนุญาตื่ใบขึ้ับขึ้ี�รถยนตื่์ และรถจักรยานยนตื่์
หลังจากมีคำพิิพิากษา ส.ตื่.ตื่. นรวิชญ์ ถ่กสั�งให้ออกจากราชการทันที
จากคดีดังกล่าวก่อให้เกิดความตื่่�นตื่ัวในการตื่้องการให้มีการปฏิิบัตื่ิตื่ามกฎีจารจรและกวดขึ้ันวินัยจราจร
อย่างเคร่งครัด โดยมีการดำเนินกิจกรรมตื่่าง ๆ หลายอย่าง เช่น
มีการจัดตื่ั�งกลุ่ม Rabbit Crossing เพิ่�อทำกิจกรรมให้เกิดการขึ้ับขึ้ี�ปลอดภััย โดยมีแพิทย์หญิงลลนา
ก้องธิรนินทร์ เป็นผ่้ประสานงาน โดยกิจกรรมหน้�งที�ทำไป ค่อ การประสานงานกับไลน์แมน (Line Man)
เพิ่�อย�ำให้พินักงานทุกคนขึ้ับรถจักรยานยนตื่์อย่างปลอดภััย โดยเฉพิาะกับผ่้ใช้ทางม้าลาย (Chanjira_Yee,
๓๐ พิฤษภัาคม ๒๕๖๕) นอกจากนี� ก็มีการรณรงค์ผ่านเว็บ Change ในหัวขึ้้อ “ทุกชีวิตื่มีความหมาย ทางม้าลาย
ตื่้องปลอดภััย” (Rabbit Crossing, ๑๘ กรกฎีาคม ๒๕๖๕)
ส่วนโครงการที�ดำเนินการมานานแล้วและยังคงดำเนินการมาจนถ้งเด่อนที�จบการเขึ้ียนบทความนี�
ค่อ โครงการ “อาสาตื่าจราจร” ซ้้�งริเริ�มโดยม่ลนิธิิเมาขึ้ับที�มีนายแพิทย์แท้จริง ศิริพิานิช เป็นเลขึ้าธิิการมา
ตื่ั�งแตื่่แรกเริ�ม โครงการนี�ระยะหลังมีกิจกรรมหน้�งที�ดำเนินการทุกเด่อน ค่อ การประกวดคลิปการเกิดอุบัตื่ิเหตืุ่
หร่อการทำผิดกฎีจราจร และคลิปนั�นใช้เป็นหลักฐานดำเนินคดีกับผ่้กระทำความผิดได้ตื่ามกฎีหมายได้ โดยมี
ผ่้สนับสนุนที�อาจแตื่กตื่่างกันไปตื่ามเวลาดำเนินการในช่วงตื่่าง ๆ ได้ เช่น ม่ลนิธิิเมาไม่ขึ้ับ ศ่นย์บริหารงานจราจร
(ศจร.ตื่ร.) สถานีวิทยุ จส.๑๐๐ สถานีวิทยุพิิทักษ์สันตื่ิราษฎีร์ สวพิ.๙๑ และ ผ่้สนับสนุนเงินรางวัลค่อ บริษัท
วิริยะประกันภััย จำกัด (มหาชน) มีการมอบรางวัลทุกเด่อน (บริษัท วิริยะประกันภััย จำกัด (มหาชน),
๔
๒ มิถุนายน พิ.ศ. ๒๕๖๕)
หลัักการทางจิตวิิทยาที�นัำมาใช้้ในัการเสริมสร้างวิินััยจราจรเพื่่�อควิามอย่�ดีีมีสุขในัสังคมไทย
มีหลักการเด่น ค่อ การปรับพิฤตื่ิกรรม
การปรับพื่ฤติกรรม หมายถ้ง “การประยุกตื่์ความร่้จากทฤษฎีีทางจิตื่วิทยามาใช้ในการสร้างให้มี
พิฤตื่ิกรรมใหม่เกิดขึ้้�น การพิัฒนาพิฤตื่ิกรรมพิ้งปรารถนาที�มีอย่่เดิมให้มีความเหมาะสมมากขึ้้�นหร่อมีเพิิ�มมากขึ้้�น
การลดพิฤตื่ิกรรมที�ไม่พิ้งประสงค์ให้น้อยลง หร่อขึ้จัดพิฤตื่ิกรรมที�ไม่พิ้งประสงค์ให้หมดไป” (ธิีระพิร อุวรรณโณ,
๒๕๖๒, น.๑)
ทฤษฎีีที�ใช้้ในัการปรับพื่ฤติกรรม
๕
ทฤษฎีีที�เป็นพิ่�นฐานมี ๒ ทฤษฎีีหลักค่อ ทฤษฎีีการวางเง่�อนไขึ้การกระทำ (operant conditioning
theory) และทฤษฎีีการร่้คิดทางสังคม หร่อทฤษฎีีปัญญาทางสังคม (social cognitive theory)
๔ ขึ้อขึ้อบคุณ คุณวารุณี ซ้่�อสัตื่ย์สกุลชัย ผ่้จัดการแผนกกิจกรรมเพิ่�อสังคม บริษัท วิริยะประกันภััย จำกัด (มหาชน) ที�ตื่อบอีเมลขึ้องผ่้เขึ้ียนที�สอบถาม
เกี�ยวกับโครงการ “อาสาตื่าจารจร” เม่�อ ๒๖ กรกฎีาคม ๒๕๖๕
๕ ขึ้้อความตื่ั�งแตื่่หัวขึ้้อการปรับพิฤตื่ิกรรม ถ้ง หัวขึ้้อทฤษฎีีการร่้คิดทางสังคม ปรับปรุงมาจากธิีระพิร อุวรรณโณ (๒๕๖๒)