Page 59 - 47-3
P. 59

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๓ กัันยายน–ธัันวาคม ๒๕๖๕
             ศาสตราจารย์์ ดร.ปารเมศ ชุุติมา                                                   51


             กี่ารเกี่ษตร กี่ารดูแลูสุขึ้ภาพ เป็นต้น (Wikipedia, 2022) เนื�องจัากี่มาตรฐานที่่�องคุ์กี่าร ISO พัฒนา

             ขึ้้�นนั�นเป็นที่่�ยอมรับกี่ันในระดับนานาช้าติ ดังนั�น องคุ์กี่ารน่�จั้งม่ส่วนช้่วยให้เกี่ิดคุวามมั�นใจัในกี่าร

             ที่ำางานขึ้ององคุ์กี่ารต่าง ๆ ที่่�นำาเอามาตรฐานที่่�องคุ์กี่าร ISO ได้พัฒนาขึ้้�นไปประยุกี่ต์ แลูะผู้่านกี่ารรับรอง
             ตามมาตรฐานดังกี่ลู่าวโดยหน่วยงานรับรองมาตรฐาน (certification body) ซึ่้�งหากี่มองอ่กี่มุมหน้�งแลู้ว
             องคุ์กี่าร ISO ยังม่ส่วนช้่วยในกี่ารอำานวยคุวามสะดวกี่ให้แกี่่กี่ารคุ้าโลูกี่อ่กี่ด้วย

                     มาตรฐาน ISO 9000 ได้ประกี่าศใช้้คุรั�งแรกี่เมื�อ พ.ศ. ๒๕๓๐ แลูะผู้่านกี่ารปรับปรุงมา

             อย่างต่อเนื�อง จันกี่ระที่ั�งปัจัจัุบันใช้้เวอร์ช้ัน (version) ลู่าสุดขึ้อง พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรฐาน ISO 9000
             เป็นมาตรฐานเกี่่�ยวกี่ับกี่ารจััดระบบบริหารงานขึ้ององคุ์กี่าร เพื�อสร้างคุวามมั�นใจัว่า องคุ์กี่ารสามารถ
             สนองตอบต่อคุวามต้องกี่ารขึ้องลููกี่คุ้าแลูะผูู้้ม่ส่วนได้ส่วนเส่ยได้อย่างม่ประสิที่ธิิภาพ ที่ั�งในด้าน

             ผู้ลูิตภัณฑ์์แลูะกี่ารบริกี่าร โดยที่่�องคุ์กี่ารจัะต้องปฏิิบัติตามขึ้้อกี่ำาหนดที่างกี่ฎหมายแลูะขึ้้อบังคุับต่าง ๆ

             ที่่�เกี่่�ยวขึ้้องที่ั�งหมดอย่างเหมาะสม องคุ์กี่ารที่่�ผู้่านกี่ารรับรองมาตรฐาน ISO 9000 จัะต้องคุวบคุุม
             กี่ระบวนกี่ารต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ แลูะสามารถตรวจัสอบได้โดยผู้่านเอกี่สารหรือหลูักี่ฐานที่่�ระบุ
             อยู่ในคุู่มือคุุณภาพ ขึ้ั�นตอนกี่ารดำาเนินงาน วิธิ่กี่ารปฏิิบัติงาน หรือเอกี่สารสนับสนุนอื�น ๆ จัากี่สถิติใน

             พ.ศ. ๒๕๕๘ ม่องคุ์กี่ารที่่�ผู้่านกี่ารรับรองมาตรฐาน ISO 9000 เป็นจัำานวนมากี่กี่ว่า ๑ ลู้านองคุ์กี่าร ใน

             ๑๗๕ ประเที่ศ แลูะม่แนวโน้มที่่�จัะเพิ�มขึ้้�นช้้าลูง ประเที่ศที่่�ม่กี่ารรับรองมาตรฐาน ISO 9000 จัำานวน
             มากี่ที่่�สุด ๓ อันดับแรกี่ คุือ จั่น อิตาลู่ แลูะเยอรมน่ (International Organization for Standardization,
             2014)

                     ถ้งแม้ว่าองคุ์กี่าร ISO ได้กี่ำาหนดให้ที่บที่วนมาตรฐาน ISO 9000 ทีุ่กี่ ๕ ปี โดยคุณะกี่รรมกี่าร

             ที่บที่วนมาตรฐาน ISO/TC 176 กี่็ตาม แต่ในคุวามเป็นจัริงแลู้วกี่ารดำาเนินกี่ารที่บที่วนกี่็ใช้้เวลูานาน
             กี่ว่านั�นเลู็กี่น้อย (ตารางที่่� ๑) กี่ารที่บที่วนคุรั�งสุดที่้ายดำาเนินกี่ารเสร็จัสิ�นจันประกี่าศออกี่เป็นมาตรฐาน
             ที่่�สามารถนำาไปใช้้งานได้ใน พ.ศ. ๒๕๕๘
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64