Page 11 - 46-2
P. 11

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                             ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๔

                 รองศาสตราจารย์์ ดร.วนิิดา ขำำาเขำีย์ว                                             3


                 เวลาโดยมีความติายเป็็นที่ี�สุด ที่ำาให�สนใจติ่อความมีอย้่ที่ี�แที่�จร์ิงและมีสติิในอัติถิภาวะมากขึ�นจน

                 ก�าวไป็ส้่ความเป็็นมนุษย์ที่ี�แที่�และพี�นจากภาวะความเป็็นมนุษย์ที่ี�ติกติำ�า  ดังนั�น ป็ัญหาของมนุษย์จึงมิได�
                 อย้่ที่ี�เหติุป็ัจจัยภายนอกเพีียงอย่างเดียวเที่่านั�น แติ่ติัวมนุษย์นั�นเองเป็็นที่ี�ร์วมของป็ัญหา การ์แก�ป็ัญหา

                 จึงติ�องแก�ที่ี�ติัวมนุษย์เป็็นสำาคัญ
                          ในบที่ความเช่�อว่าแนวคิดของมาร์์ติิน ไฮเดกเกอร์์ (Martin Heidegger) นักอภิป็ร์ัชญา

                 คนสำาคัญของยุโร์ป็ในช่วงคร์ิสติ์ศติวร์ร์ษที่ี� ๒๐ สามาร์ถที่ี�จะช่วยให�บุคคลเกิดแง่คิดในการ์ที่ำาความ
                 เข�าใจเกี�ยวกับสภาพีอันแที่�จร์ิงของมนุษย์ นั�นค่อความเป็็นมนุษย์ที่ี�สามาร์ถติร์ะหนักได�ถึงความมีอย้่

                 ของติน ซึ�งจะที่ำาให�เกิดผู้ลที่ี�ติามมาค่อความเข�าใจในความเป็็นมนุษย์ที่ี�มีอย้่อย่างแที่�จร์ิง และความ
                 สามาร์ถที่ี�จะกำาหนดตินเองเป็็นอะไร์ ๆ ด�วยตินเอง ติลอดจนสามาร์ถที่ี�จะดำาร์งตินอย้่ในโลกนี�ได�อย่าง

                 มีศักดิ�ศร์ีแห่งความเป็็นมนุษย์ที่ี�สามาร์ถก�าวพี�นจากป็ัญหาที่ี�ที่ำาให�เกิดความทีุ่กข์ อันมาจากความกลัว
                 และความวิติกกังวล อีกที่ั�งยังเป็็นมนุษย์ที่ี�มีชีวิติอย้่ในโลกนี�ได�อย่างมีอิสร์ภาพี พี�นจากกับดักของ

                 วิที่ยาศาสติร์์และเที่คโนโลยี กล่าวค่อ มนุษย์สามาร์ถใช�วิที่ยาศาสติร์์และเที่คโนโลยีโดยไม่ติกเป็็นที่าส
                 ซึ�งนั�นย่อมถ่อได�ว่าเป็็นมนุษย์ที่ี�แที่�และมีภาวะแห่งความเป็็นมนุษย์ที่ี�มีอย้่อย่างแที่�จร์ิงติามที่ร์ร์ศนะ

                 ของไฮเดกเกอร์์
                          ดังนั�น ป็ร์ะเด็นหลักสำาคัญที่ี�ช่วยให�เกิดความเข�าใจในบที่ความนี�จึงมีเร์่�องที่ี�ควร์กล่าวถึง

                 ๓ ป็ร์ะการ์ ค่อ
                          ๑.  ป็ร์ะวัติิชีวิติของไฮเดกเกอร์์

                          ๒. ความเป็็นมนุษย์เป็็นอย่างไร์
                          ๓. ความมีอย้่อย่างแที่�จร์ิงเป็็นอย่างไร์


                 ป็ริะวัติิชีีวิติของไฮเดกเกอริ์
                          มาร์์ติิน ไฮเดกเกอร์์ เกิดเม่�อวันที่ี� ๒๖ กันยายน ค.ศ. ๑๘๘๙ ที่ี�เมสเคียร์์ช (Messkirch)

                 อันเป็็นเม่องที่ี�อย้่ในเขติป็่าดำา (Black Forest) ป็ร์ะเที่ศเยอร์มนี บิดาของไฮเดกเกอร์์มีนามว่า ฟ้ร์ีดร์ิช
                 (Friedrich) มาร์ดามีนามว่า โยฮันนา เคมพีฟ้์ (Johanna Kempf) ที่ั�ง ๒ คนนับถ่อศาสนาคร์ิสติ์นิกาย

                 คาที่อลิก อาชีพีของบิดาค่อผู้้�ด้แลโบสถ์ของหม้่บ�าน บิดามาร์ดามีบุติร์ชาย ๒ คน ไฮเดกเกอร์์เป็็น
                 บุติร์คนโติ ในวัยเด็กได�ร์ับการ์ศึกษาที่ี�คอนสติันซ์ (Konstanz) และไฟ้ร์บวร์์ค (Freiburg) อีกที่ั�ง

                 ยังได�ใช�ชีวิติชั�วร์ะยะหนึ�งในการ์ศึกษาและป็ฏิบัติิการ์ใช�ชีวิติแบบนักบวชในนิกายเยสุอิติ (Jesuit)
                 ความช่�นชอบและความป็ร์ะที่ับใจในป็ร์ัชญาเกิดขึ�นเม่�อไฮเดกเกอร์์ได�อ่านหนังส่อของฟ้ร์ันซ์ เบร์นติาโน









                                                                                                  2/12/2565 BE   14:43
       _22-0789(001-019)1.indd   3                                                                2/12/2565 BE   14:43
       _22-0789(001-019)1.indd   3
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16