Page 126 - 45-3
P. 126

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                            ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๓  กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๓
               118                                     แอมมอกซิิเดชัันของโพรเพนบนตััวเร่งปฏิิกิริยาแบบหลายองค์์ประกอบ



                          ในอดีตการผู้ลิตอะคริโลไนไทรล์จุะใช้�สัมการของทั�ง ๒ ปฏิิกิริยานี� แต่ปัจุจุุบันทาง

               อุตสัาห์กรรมใช้�ปฏิิกิริยา Ammono-oxidation ห์ร่อปฏิิกิริยาแอมมอกซิเดช้ัน ในการผู้ลิต
               อะคริโลไนไทรล์ เน่�องจุากทั�ง ๒ ปฏิิกิริยาที�กล่าวถึงก่อนแล�วมีอันตรายสั้ง

                        ๓. ปฏิิกิริยาแอมมอกซิิเดชััน  เป็นกระบวนการที�มีบทบาทสัำาคัญอย่างมากในทาง
               ปิโตรเลียม (Petroleum) และก๊าซธรรมช้าติ ประมาณ์ได�ว่าร�อยละ ๒๐ ของกระบวนการผู้ลิตใน

               อุตสัาห์กรรมเคมีและปิโตรเคมีเป็นปฏิิกิริยาออกซิเดช้ัน โดยใช้�ตัวเร่งปฏิิกิริยาช้นิดวิวิธพันธุ์
               (heterogeneous) ปฏิิกิริยาออกซิเดช้ันจุำาแนกได�ห์ลายช้นิด มีปฏิิกิริยาอัลลิลิกออกซิเดช้ัน (allylic

               oxidation) แอมมอกซิเดช้ัน อิพ็อกซิเดช้ัน (epoxidation) แอโรแมติกออกซิเดช้ัน (aromatic
               oxidation) และปฏิิกิริยาพาราฟฟินิกออกซิเดช้ัน (paraffinic oxidation) (Strikmiller, 2000)

               เป็นต�น
                          ในทางอุตสัาห์กรรมการผู้ลิตอะคริโลไนไทรล์นั�น ปฏิิกิริยาที�สัำาคัญได�แก่ปฏิิกิริยาแอมมอก

               ซิเดช้ันของสัารประกอบโพรพิลีนกับแอมโมเนียและออกซิเจุนในอากาศึ ปฏิิกิริยานี�พบโดยกระบวนการ
               ของโซไฮโอ (Strikmiller, 2000) ดังสัมการ


                                                        ตัวเร่งปฏิิกิริยา
                           CH = CHCH  + NH  + 3/2O                     CH = CHCN + 3H O        (๗)
                                                     2
                                                                         2
                                                                                       2
                                             3
                                      3
                              2
                          ปฏิิกิริยาแอมมอกซิเดช้ันตามสัมการที� (๒ และ ๓) ห์ากแทนสัารประกอบโพรพิลีนด�วย
               สัารประกอบโอเลฟิน (olefin) ตัวอ่�น ๆ เช้่น สัารประกอบไอโซบิวทีน (isobutene) และสัารประกอบ
               แอลฟาเมทิลสัไตรีน (α-methylstyrene) จุะพบว่าสัามารถสัังเคราะห์์สัารประกอบไนทริลได�เช้่นกัน
               ดังสัมการที� (๘) และ (๙)

                                      CH 3                                   CH 3

                                                       ตัวเร่งปฏิิกิริยา                       (๘)
                           CH = CCH  + NH  + 3/2O  2                  CH =CCN + 3H O
                                                                         2
                                                                                    2
                                     3
                                           3
                              2
                                                                     เมทิลอะคริโลไนไทรล์
                                                                     (methylacrylonitrile)
                           CH = CCH  + NH  + 3/2O  2   ตัวเร่งปฏิิกิริยา  CH = CCN + 3H O      (๙)
                                                                        2
                                           3
                              2
                                     3
                                                                                     2
                                                                       อะโทรโพไนไทรล์
                                                                        (atroponitrile)





                                                                                                  19/1/2565 BE   08:53
       _21-0851(114-138)6.indd   118                                                              19/1/2565 BE   08:53
       _21-0851(114-138)6.indd   118
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131