Page 124 - 45-3
P. 124

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                            ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๓  กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๓
               116                                     แอมมอกซิิเดชัันของโพรเพนบนตััวเร่งปฏิิกิริยาแบบหลายองค์์ประกอบ



               บทนำา

                        ปัจุจุุบันความเจุริญเติบโตของอุตสัาห์กรรมปิโตรเลียมมีมาก และสัารอะคริโลไนไทรล์
               เป็นสัารเคมีอินทรีย์ช้นิดห์นึ�งที�มีความสัำาคัญในการผู้ลิตสัารปิโตรเคมีและพลาสัติกห์ลายช้นิด ซึ�งเป็น

               วัสัดุที�สัำาคัญในการสัร�างสัาธารณ์้ปโภคห์ลายประเภท เช้่น พอลิอะคริโลไนไทรล์ (polyacrylonitrile)
               ใช้�เป็นสั่วนประกอบสัำาคัญของไฟเบอร์และใช้�ประโยช้น์ในการทำาสัิ�งทอที�ผู้สัมด�วยพอลิเอสัเทอร์สัำาห์รับ

               เสั่�อกันห์นาวและเสั่�อกีฬา พลาสัติก อะคริโลไนไทรล์-บิวทาไดอีน-สัไตรีน ห์ร่อเอบีเอสั [acrylonitrile-
               butadiene-styrene (ABS)] ใช้�ประโยช้น์เป็นช้ิ�นสั่วนของเคร่�องยนต์และยานยนต์ต่าง ๆ ท่อ ข�อต่อ

               และเคร่�องใช้�ไฟฟ้า แอดิโพไนไทรล์ (adiponitrile) นำามาใช้�ประโยช้น์ในการสัร�างเฮกซะ-เมทิลีน-
               ไดแอมีน (hexa-methylene-diamine) สั่วนไนลอน ๖๖ อะคริลาไมด์ ใช้�ประโยช้น์ในการทำา

               ตัวทำาละลายกับนำ�าและพอลิเมอร์สัำาห์รับการทำากระดาษ  ไนไทรล์รับเบอร์  (Acrylonitrile-butadiene
               copolymer) มีการประยุกต์ใช้�ในอุตสัาห์กรรมช้นิดพิเศึษที�ต�องการตัวต่อต�านนำ�ามัน มีลักษณ์ะที�

               ย่ดห์ยุ่นที�อุณ์ห์ภ้มิตำ�า และเป็นตัวต�านทานความร�อนที�อุณ์ห์ภ้มิสั้งกว่า ๑๒๐ องศึาเซลเซียสั
                        ประเทศึไทยยังไม่มีโรงงานผู้ลิตอะคริโลไนไทรล์ ได�แต่นำาเข�าจุากต่างประเทศึในแต่ละปี

               เป็นจุำานวนมาก การผู้ลิตอะคริโลไนไทรล์มีกระบวนการผู้ลิตได�ห์ลายแบบ เช้่น ปฏิิกิริยาการเติม
               (addition reaction) ระห์ว่างไฮโดรเจุนไซยาไนด์ [hydrogen cyanide (HCN)] กับสัารอะเซทิลีน

               (acetylene) (HC=CH) และปฏิิกิริยาแอมมอกซิเดช้ัน (ammoxidation reaction) ของสัารโพรพิลีน
               กับแอมโมเนียและออกซิเจุน ที�อุณ์ห์ภ้มิประมาณ์ ๗๒๓ องศึาเคลวิน โดยมีเห์ล็ก (iron) พลวง

               (antimony) วาเนเดียม (vanadium) เทลล้เรียม (tellurium) และทองแดง (copper) บนตัวรองรับ
               Bithmuth-molydenum ห์ร่อ Bismuth Phosphate เป็นตัวเร่งปฏิิกิริยา แต่ยังไม่มีการสัังเคราะห์์

               อะคริโลไนไทรล์จุากสัารโพรเพนโดยตรง เพราะต�องใช้�ตัวเร่งปฏิิกิริยาในการสัังเคราะห์์มากกว่า
               ๑ ช้นิด  เน่�องจุากต�องมีการเปลี�ยนโพรเพนเป็นโพรพิลีนก่อน  ห์ลังจุากนั�นจุึงสัังเคราะห์์อะคริโลไนไทรล์

               ซึ�งทำาให์�มีความสัิ�นเปล่องเป็นอันมาก
                        คณ์ะผู้้�วิจุัยในงานวิจุัยนี�ได�เห์็นถึงความสัำาคัญของการพัฒนาตัวเร่งปฏิิกิริยาเพ่�อใช้�ในการ

               สัังเคราะห์์อะคริโลไนไทรล์ในกระบวนการแอมมอกซิเดช้ันของสัารโพรเพน  แอมโมเนีย  และออกซิเจุน
               โดยใช้�ตัวเร่งปฏิิกิริยาเพียงช้นิดเดียวในการเกิดปฏิิกิริยารวม คณ์ะผู้้�วิจุัยได�ศึึกษาตัวแปรที�มีผู้ลต่อ

               การสัังเคราะห์์โดยใช้�กระบวนการทางสัถิติเข�ามาช้่วย เพ่�อพิจุารณ์าถึงความเป็นไปได�ในการผู้ลิต
               อะคริโลไนไทรล์ในเช้ิงพาณ์ิช้ย์










                                                                                                  19/1/2565 BE   08:53
       _21-0851(114-138)6.indd   116                                                              19/1/2565 BE   08:53
       _21-0851(114-138)6.indd   116
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129