Page 206 - 45 2
P. 206

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                       ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๒  พฤษภาคม-สิิงหาคม ๒๕๖๓
           196                                                  “ไบโอไฮเทน” พลัังงานทางเลัือกจากมวลัชีีวภาพ


           ตารางที� ๑  ก๊ล่่มจ่ลินทรีย์ที�เก๊ี�ยว่ขั้องก๊้บก๊ระบว่นก๊ารผลิตไบโอไฮเทนโดยก๊ารย่อยสลายแบบไร้อาก๊าศ

                      สองขั้้�นตอน


                               แบคทีเรีย์ที�ชีอบอุณหภูมิ  แบคทีเรีย์ที�ชีอบอุณหภูมิสูง   แบคทีเรีย์ที�ชีอบอุณหภูมิสูงมาก
                 ขั�นตอน
                               ปานกลัาง (Mesophile)    (Thermophile)      (Extreme thermophile)
            ขั้้�นตอนแรก๊   Clostridium sp.       Thermoanaerobacterium sp. Caldanaerobacter sp.
            ก๊ารผลิตแก๊๊สไฮโดรเจน  Enterobacter sp.  Clostridium sp.    Caloramator sp.
            (แบคทีเรีย)     Citrobacter sp.       Thermoanaerobacter sp.   Thermotoga sp.
                            Bacillus sp.
            ขั้้�นตอนที�สอง  Clostridium sp.      Clostridium sp.       Caloramator sp.
            ก๊ารผลิตแก๊๊สมีเทน  Bacillus sp.      Thermoanaerobacterium sp.
            (แบคทีเรีย)     Desulfobacterium sp.  Desulfomicrobium sp.

            ขั้้�นตอนที�สอง  Methanobacterium sp.  Methanothermobacter sp.  Methanothermus sp.
            ก๊ารผลิตแก๊๊สมีเทน  Methanoculleus sp.  Methanosarcina sp.  Methanothermococcus sp.
            (อาร์เคีย)      Methanospirillum sp.
                            Methanococcus sp.

           ที�มา : O-Thong et al., 2018 : 89



                    ขั้้อดีขั้องก๊ารผลิตไบโอไฮเทนเมื�อเป็รียบเทียบก๊้บก๊ารผลิตแก๊๊สช้ีว่ภาพื่แบบด้�งเดิมคือสามารถ

           เก๊็บเก๊ี�ยว่พื่ล้งงานจาก๊ซ้บสเตรตได้มาก๊ขั้ึ�น ระยะเว่ลาในก๊ารผลิตส้�น มีอ้ตราส่ว่นแก๊๊สไฮโดรเจนต่อ
           แก๊๊สมีเทนที�หลาก๊หลาย เป็็นมิตรต่อสิ�งแว่ดล้อม และมีป็ระสิทธิิภาพื่ในก๊ารก๊ำาจ้ดขั้องเสียมาก๊ขั้ึ�น

           (Mamimin et al., 2015 : 6,321; Nualsri et al., 2016 : 88; Thungklin et al., 2018 : 9,934;

           Seengenyoung et al., 2019 : 3,348)  อย่างไรก๊็ตาม ก๊ารผลิตไบโอไฮเทนจำาเป็็นต้องคำานึงถึงป็ัจจ้ย

           ที�ส่งผลต่อก๊ารผลิต เช้่น ก๊ารป็ร้บสภาพื่ว่้ตถ่ดิบที�นำามาใช้้เป็็นซ้บสเตรต ล้ก๊ษณะขั้องก๊ล้าเช้ื�อจ่ลินทรีย์

           ก๊ารออก๊แบบถ้งป็ฏิิก๊รณ์ช้ีว่ภาพื่ที�ใช้้ในก๊ารหม้ก๊ ก๊ารคว่บค่มอ่ณหภูมิ ค่าคว่ามเป็็นก๊รด-ด่าง อ้ตรา
           ภาระบรรท่ก๊สารอินทรีย์ (organic loading rate−OLR) ระยะเว่ลาก๊้ก๊เก๊็บ (hydraulic retention

           time−HRT) และศ้ก๊ยภาพื่ก๊ารเก๊ิดป็ฏิิก๊ิริยาออก๊ซิเดช้้น-รีด้ก๊ช้้น (oxidation reduction potential−

           ORP) (Lay et al., 2020 : 5,869)
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211