Page 24 - Journal451
P. 24

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๓
           12                                    พระบาทสมเด็็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่่�หััว : นัักคติิชนัรุ�นับุกเบิกของสยู่าม


           พระบาทสมเด็็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่่�หััวกับระเบ่ยู่บวิธ์่ทรงงานัแบบนัักคติิชนั

                    บันทึกการเด็ินทางอันเนื�องจากการเสด็็จป็ระพาส นอกจากเป็็นหัลักฐานท่�แสด็งถิ่ึงความ

           สนพระราชหัฤทัยู่ในช่วิตความเป็็นอยู่่�ของชาวบ้านในท้องถิ่ิ�นแล้ว ยู่ังแสด็งถิ่ึงการทรงงานท่�ม่ระเบ่ยู่บ
           วิธ่แบบนักคติชนของพระบาทสมเด็็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่่�หััวด็ังต�อไป็น่�

                    ๑. การก�าหันัด็หััวข้อในัการเก็บข้อม่ลและก�าหันัด็ผู้่้เก็บรวบรวมข้อม่ลเบื�องติ้นั ด็ัง
           ป็รากฏเมื�อ พ.ศ. ๒๔๑๙ ครั�งเสด็็จป็ระพาสจันทบุร่ในช�วงต้นรัชกาล พระองค์ได็้เล�าวิธ่การเก็บข้อม่ล

           เพื�อทรงนำามาเร่ยู่บเร่ยู่งพระราชนิพนธ์ว�า ได็้ทรงแบ�งหัน้าท่�ใหั้ข้าราชการท่�โด็ยู่เสด็็จ ๔ คน แบ�งกัน
           ไป็เก็บข้อม่ลตามหััวข้อท่�ทรงมอบหัมายู่  หััวข้อด็ังกล�าวม่ทั�งสภาพนิเวศธรรมชาติ พืชพรรณีไม้ สัตว์ป็่า

           สัตว์เล่�ยู่ง ความเป็็นอยู่่� อาช่พของราษัฎร การค้าขายู่ การช�าง การป็กครอง และการละเล�น ด็ังความว�า
                    ...ได้มาอยู่เม่องจันัท้บั่รีหลายวันั   มีเวลาพิอท้ี�จะได้ถึามการต่าง ๆ ในัเม่องจันัท้บั่รี

                    ได้บั้าง  แต่เราจะถึามคีนัเดียวก็กลัวไม่ตลอด  แล้วจะล่มเสีย  จ้งได้ปันัเกณฑิ์ให้เป็นั
                    พินัักงานัสำาหรับัส่บัสวนัจดจำาไว้คีนัละส่วนั ๆ  เม่�อเรามาถึ้งกลางท้าง มีเวลาจะได้

                    เก็บัเรียบัเรียงไว้ให้เป็นัเร่�องเดียวกันั  การท้ี�ปันัไปนัั�นั คี่อ ให้หมอสำ�ย่ส่บัท้ี�
                    แผ้่นัดินัและเร่อกสวนัไร่นัา  พระย่�ภ�ษส่บัการชิ่างและการคี้าขายกับัสินัคี้า

                    พระน�ย่ไวย่ส่บักระบัวนัสัตว์ซ้�งเป็นักำาลังใชิ้และเป็นัอาหาร และสัตว์ร้าย กับัท้ั�ง
                    กระบัวนัเล่นัซ้�งเป็นัการสนั่กสำาหรับัเม่อง  เจ้้�พระย่�ภ�ณุุวงษ์ส่บัในักระบัวนั

                    ราชิการและคีนัต่าง ๆ ตำาแหนั่งเจ้าเม่อง  กรมการกับัท้ั�งคีวามเจ็บัไข้ในัเม่อง
                                                                        (เสด็็จป็ระพาสจันทบุร่ : ๗)


                    ๒. การสัมภาษณ์และซึักถามเมื�อข้อม่ลท่�ได็้รับยู่ังไม�ชัด็เจนั  ในการเก็บข้อม่ลนิทานพื�นบ้าน

           ท่�ทรงเป็็นผ่่้สัมภาษัณี์เอง  หัากไม�เข้าใจเรื�องท่�ราษัฎรเล�า จะทรงซัักถิ่ามเพื�อใหั้ได็้ความชัด็เจนขึ�น
           ด็ังเช�นเมื�อวันท่� ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๑ เจ้าอธิการแสง วัด็ตะค�า ตำาบลผ่ักไหั� พระนครศร่อยูุ่ธยู่า

           เล�าตำานานท้าวอ่�ทองว�า ท้าวอ่�ทองหัน่หั�าโด็ยู่หัน่ขึ�นไป็ข้ามท่�ตะพานหัิน วัด็กร�าง มาทางฝ่ั�งตะวันออก
           แล้วจึงลงไป็ตั�งเมืองกำาแพงแสนและเมืองอื�น ๆ เมื�อสร้างเมืองเสร็จแล้วหั�าก็ยู่ังตามมาอ่ก จนต้อง

           หัน่ออกทะเล จึงทรงซัักถิ่ามว�าหั�านั�นเป็็นอยู่�างไร ได็้คำาตอบว�าตามท่�เล�ากันมานั�นเหัมือนกับหั�าเป็็นคน
           แต�เจ้าอธิการว�าน�าจะเหัมือนอหัิวาตกโรค  และท้าวอ่�ทองท่�หัน่หั�าก็ไม�ใช�พระเจ้าอ่�ทองท่�มาสร้างกรุงศร่

           อยูุ่ธยู่า น�าจะเป็็นพระเจ้าอ่�ทององค์อื�น (พระราชหััตถิ่เลขาเรื�องเสด็็จป็ระพาสลำานำ�ามะขามเฒ�า : ๒๖)
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29