Page 13 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 13
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีท่� ๔๙ ฉบัับัท่� ๑ มกิราคุม-เมษาย์น ๒๕๖๗
ศาสตราจารย์์กิิตติคุุณ ดร.มงคุล เดชนคุรินทร์ 3
บทที� ๔ (มงคล เดชนครินทร์, ๒๕๕๘ : ๑๒๙-๑๕๔) นำเสนอวิธีีการแบบต่่าง ๆ ในการแสดงผลขี�อม้ลผ่านช่อง
ทางออกแบบขีนานขีองแผงวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์ ส่วนบทความบทที� ๕ (มงคล เดชนครินทร์, ๒๕๕๙)
นำเสนอวิธีีการต่่อป็ระสาน (interface) แผงวงจรดังกล่าวกับอุป็กรณ์รอบขี�าง (peripheral) เพื่่�อส่งหร่อรับขี�อม้ล
แบบอนุกรมระหว่างกันโดยอาศััยวงจรรวม 8251 ซึ่่�งเป็็นอุป็กรณ์รับ/ส่งสัญญาณสมวาร/อสมวารสากล
(Universal Synchronous/Asynchronous Receiver/Transmitter: USART) ร่วมกับเกณฑ์์วิธีีทางซึ่อฟต่์แวร์
สำหรับ USART หร่อร่วมกับเกณฑ์์วิธีี RS-232 (Recommended Standard-232) โดยมีวงจรรวมอย่างเช่น
MAX232 (ซึ่่�งมีรายละเอียดใน Maxim Integrated Products, 2006) เป็็นต่ัวป็รับเป็ลี�ยนระดับขีองแรงดันไฟฟ้า
ที�แทนต่รรกะ “0” และ “1” ค่อ ๐ โวลต่์ และ ๕ โวลต่์ ต่ามป็กต่ิ ไป็เป็็น +๑๕ โวลต่์ และ -๑๕ โวลต่์ ต่ามลำดับ
ในบทความบทนี� ผ้�เขีียนจะแสดงวิธีีนำแผงวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่่�อการเรียนร้�มาต่่อป็ระสาน
เขี�ากับหน่วยความจำอีอีพื่ร็อมแบบอนุกรม (serial EEPROM) เพื่่�อให�แผงวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์ดังกล่าว
สามารถเขีียนหร่ออ่านขี�อม้ลแบบอนุกรมในอีอีพื่ร็อมที�ต่่ออย้่นั�นได� โดยใช�ซึ่อฟต่์แวร์ที�อิงเกณฑ์์วิธีีมาต่รฐาน
I2C (ซึ่่�งผ้�เขีียนจะแสดงรายละเอียดในหัวขี�อที�จะมีต่ามมา) และใช�สายส่ง-รับสัญญาณระหว่างกันเพื่ียง ๒ สาย
สายหน่�งสำหรับส่ง-รับบิต่ขี�อม้ลแบบอนุกรม อีกสายหน่�งสำหรับส่งสัญญาณนาฬิิกาที�ใช�ป็ระสานเวลาการส่ง-รับ
ขี�อม้ล เน่�องจากแผงวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์ที�ใช�ในบทความนี�ไม่มีส่วนฮาร์ดแวร์ที�จะรองรับการส่ง-รับขี�อม้ล
แบบอนุกรมต่ามเกณฑ์์วิธีี I2C โดยต่รง ผ้�เขีียนจ่งต่�องใช�วิธีีการทางซึ่อฟต่์แวร์เป็็นเคร่�องม่อหลัก และอาศััยช่อง
ทางเขี�า-ออกสำหรับขี�อม้ลแบบขีนานในแผงวงจรดังกล่าวเป็็นเคร่�องม่อรอง
ในหัวขี�อต่่อจากนี� ผ้�เขีียนขีอนำเสนอสาระโดยย่อเกี�ยวกับแผงวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์ที�ใช� พื่ร�อมทั�ง
รายละเอียดเท่าที�จำเป็็นเกี�ยวกับเกณฑ์์วิธีี I2C สำหรับซึ่อฟต่์แวร์ที�จะใช�กับแผงวงจรดังกล่าวโดยเฉพื่าะ
แผงวงจรไมโคุรคุอนโทรลเลอร์เพื่่�อกิารเรีย์นร้�
แผงวงจรที�เป็็นส่วนฮาร์ดแวร์สำหรับการทดลองในที�นี�มีรายละเอียดอย้่ในบทความอ�างอิงบทแรก (มงคล
เดชนครินทร์, ๒๕๕๖ : ๓๖-๖๑) ที�ได�กล่าวถ่งในบทนำ ต่่อมาผ้�เขีียนได�ป็รับป็รุงแผงวงจรดังกล่าวดังที�นำเสนอ
ในบทความบทที� ๕ (มงคล เดชนครินทร์, ๒๕๕๙) ทำให�แผนภาพื่การวางต่ำแหน่งชิ�นส่วนที�เป็็นวงจรรวมและ
ส่วนป็ระกอบอ่�น ๆ ในขีั�นสุดท�ายเป็็นดังที�แสดงไว�ในภาพื่ที� ๑ โป็รดสังเกต่ว่า ส่วนป็ระกอบขีองแผงวงจรในแถว
บนทางด�านขีวานั�นมีวงจรรวม 8251 อย้่ด�วยกัน ๒ ต่ัว ต่ัวแรก (ต่ัวที�อย้่ด�านซึ่�าย) ต่่ออย้่กับต่ัวเช่�อมต่่อ DB9
ต่รงป็ลายช่องทางเขี�า-ออกโดยผ่านวงจรรวม MAX232 เพื่่�อป็รับแรงดันไฟฟ้าขีองต่รรกะให�เขี�ากับระบบส่ง-รับ
ขี�อม้ลแบบอนุกรมต่ามเกณฑ์์วิธีี RS-232 ส่วนต่ัวที� ๒ (ต่ัวที�อย้่ด�านขีวา) ต่่อโดยต่รงกับต่ัวเช่�อมต่่อ DB9 อีกต่ัว
หน่�งเพื่่�อใช�กับแรงดันไฟฟ้าป็กต่ิสำหรับต่รรกะขีอง USART นอกจากนี� ในแถวล่างสุดทางด�านขีวาขีองแผงวงจร
ยังมีวงจรรวม 8255 อย้่ด�วยกัน ๒ ต่ัว สำหรับใช�เป็็นช่องทางเขี�า-ออกขีองขี�อม้ลแบบขีนาน โดยที�ต่ัวที� ๒ (ต่ัวที�
อย้่ด�านซึ่�าย) ต่่อผ่านวงจรรวม 74240 และต่ัวต่�านทาน (R) ๘ หน่วยไป็ส้่ชุดแสดงผลแบบที�ใช�ไดโอดเป็ล่งแสง
(LED) จำนวน ๘ หน่วย เพื่่�อใช�แสดงผลขี�อม้ลแบบขีนาน ๘ บิต่โดยเฉพื่าะ รายละเอียดขีองวงจรแสดงผลดังกล่าวนี�
อย้่ในภาพื่ที� ๒