Page 8 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 8

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีที� ๔๙ ฉบับที� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๗

             6                 การต่่อประสานแผงวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่่�อการเรียนร้�กับหน่วยความจำอีอีพื่ร็อมแบบอนุกรมต่ามเกณฑ์์วิธีี I2C


                                        บัรรณาธิการแถลง







                    วารสารราชบัณฑิิตยสภาฉบับนี�เป็็นฉบับแรกของป็ีพุทธิศักราช ๒๕๖๗ ซึ่ึ�งเป็็นเวลาแห็่งการเริ�มต�น

             สรรพสิ�งที�ดีงามตลอดจนพัฒินาการความก�าวห็น�าต่าง ๆ ของโลกและสังคม เช่นเดียวกับตลอดเวลาที�ผู้่านมา
             วารสารราชบัณฑิิตยสภาฉบับนี�ได�ภ้มิใจเสนอผู้ลงานบทความซึ่ึ�งเป็ี�ยมพร�อมด�วยเนื�อห็าอันทรงคุณค่าทางวิชาการ

             ของราชบัณฑิิตและภาคีสมาชิกจากสาขาวิชาต่าง ๆ ในแต่ละสำนักของราชบัณฑิิตยสภา อันได�แก่ สำนัก
             วิทยาศาสตร์ สำนักธิรรมศาสตร์และการเมือง และสำนักศิลป็กรรม บทความในวารสารฉบับนี�มีป็ระเด็นเนื�อห็า
             ความร้�อย่างห็ลากห็ลายที�จะนำเสนอส้่สังคม ซึ่ึ�งล�วนแล�วแต่น่าสนใจดังนี�


                    สำนิักวิทยาศิาสตร์

                    บทความเรื�อง “การต่อป็ระสานแผู้งวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์เพื�อการเรียนร้�กับห็น่วยความจำ
             อีอีพร็อมแบบอนุกรมตามเกณฑิ์วิธิี I2C” ศิาสตราจารย์กิตติคุณ ด็ร.มงคล้ เด็ชนิครินิทร์ นำเสนอการทดลอง
             ทางฮาร์ดแวร์และซึ่อฟต์แวร์เพื�อการส่ง-รับข�อม้ลแบบอนุกรมในระบบ I2C ระห็ว่างแผู้งวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์

             เพื�อการเรียนร้�กับอีอีพร็อมแบบอนุกรม AT24C256 โดยใช�ภาษาแอสเซึ่มบลีที�ไม่ซึ่ับซึ่�อน ซึ่ึ�งการทดลอง
             ดังกล่าวให็�ผู้ลเป็็นที�น่าพอใจ

                    ส่วนบทความเรื�อง  “อาร์เอฟไอดีเทคโนโลยีการระบุเอกลักษณ์ด�วยคลื�นความถูี�วิทยุ” ของศิาสตราจารย์

             ด็ร.วัล้ล้ภ สุระกำพล้ธิร ได�กล่าวให็�ข�อม้ลความร้�เกี�ยวกับเทคโนโลยีการระบุเอกลักษณ์อัตโนมัติด�วยคลื�น
             ความถูี�วิทยุ ซึ่ึ�งป็ัจจุบันมีการพัฒินาให็�เป็็นอุป็กรณ์ที�สามารถูป็รากฏอย้่ในโครงข่ายอินเทอร์เน็ตสรรพสิ�งและ

             สามารถูนำไป็ใช�ป็ระโยชน์ได�อย่างกว�างขวาง

                    เนื�องจากเอทานอลเป็็นสารสำคัญใช�ในอุตสาห็กรรมห็ลายชนิดทั�วโลก และเอทานอลส่วนให็ญ่ได�
             จากการห็มักน�ำตาลโดยใช�ยีสต์ ในบทความเรื�อง “การห็มักผู้ลิตเอทานอลโดยยีสต์” ศิาสตราจารย์ ด็ร. สาวิตรี
             ล้ิ�มทอง กล่าวถูึงกระบวนการห็มักผู้ลิตเอทานอลด�วยยีสต์สายพันธิุ์ที�นิยมใช�ไว�อย่างละเอียดน่าศึกษา


                    ด�านดาราศาสตร์ นิิพนิธิ์ ทรายเพชร เขียนบทความเรื�อง “โลกในเอกภพและดาวระเบิด” ให็�ความร้�
             เกี�ยวกับโลก เอกภพ และเรื�องราวของดาวเบเทลจุสซึ่ึ�งอาจจะสร�างป็รากฏการณ์สำคัญคือซึ่้ป็เป็อร์โนวาที�ทำให็�
             นักดาราศาสตร์ทั�วโลกพากันติดตามด�วยความระทึกใจอย้่ในเวลานี�


                    สำนิักธิรรมศิาสตร์แล้ะการเม่อง

                    ป็ัจจุบันพัฒินาการของระบบคอมพิวเตอร์มีอิทธิิพลอย่างมากต่อการสื�อสารของมนุษย์ มีการใช�ความ
             เป็็นจริงเสมือนห็รือ VR เพื�อจำลองสภาพแวดล�อมให็�เห็มือนจริงด�วยระบบคอมพิวเตอร์ ศิาสตราจารย์กิตติคุณ

             ด็ร.ศิักด็า ป้�นิเหนิ่งเพ็ชร์ เขียนบทความเรื�อง “วาทนิเทศในโลกแห็่งความเป็็นจริงเสมือน”กล่าวถูึงโลกแห็่งความ
             เป็็นจริงเสมือนที�กำลังก�าวเข�ามาส้่วิถูีการดำเนินชีวิตยุคดิจิทัล และมีบทบาทสำคัญต่อวาทนิเทศอย่างกว�างขวาง
             ซึ่ึ�งเราคงต�องเตรียมพร�อมยอมรับความเป็็นจริงเสมือนเข�ามาในวิถูีชีวิตในเวลาอีกไม่นานนัก
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13