Page 17 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 17
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีท่� ๔๙ ฉบัับัท่� ๑ มกิราคุม-เมษาย์น ๒๕๖๗
ศาสตราจารย์์กิิตติคุุณ ดร.มงคุล เดชนคุรินทร์ 7
ในวงจรทางซึ่ีกขีวาม่อขีองภาพื่ที� ๔ นั�น สายสัญญาณ SDA และ SCL แต่่ละเส�นต่่อผ่านต่ัวต่�านทาน
ด่งขี่�นขีนาด 10 kΩ ไป็ยังแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสต่รง +5V สายสัญญาณทั�ง ๒ เส�นนี�ขียายยาวไป็ถ่งหน่วย
ความจำอีอีพื่ร็อมแบบอนุกรม AT24C256 (ขีนาดความจุ ๓๒ กิโลไบต่์) ที�อย้่ทางขีวาสุดในภาพื่ที� ๔ โดยต่่อกับ
ขีั�ว SDA (ขีา 5) และขีั�ว SCL (ขีา 6) ขีองอีอีพื่ร็อม ต่ามลำดับ ส่วนขีั�ว A2, A1, A0 (ขีา 3, 2, 1) ที�อย้่ทางด�าน
ซึ่�ายขีองต่ัวอีอีพื่ร็อมนั�นใช�ป็ระกอบการกำหนดเอกลักษัณ์ขีองเลขีที�อย้่ (address identification) ขีนาด ๗ บิต่
ป็ระจำต่ัวอีอีพื่ร็อม (ซึ่่�งบิต่ ๔ บิต่ที�มีนัยสำคัญส้งสุดได�รับการกำหนดไว�เป็็น 1010 ต่ามที�ป็รากฏใน Atmel, 2009
และ Wikipedia, 2021) โดยที�ต่�องให�ขีั�ว A2, A1, A0 ขีองอีอีพื่ร็อมรับค่าต่รรกะสำหรับบิต่ ๓ บิต่ที�มีนัยสำคัญ
ต่�ำสุดในจำนวนบิต่ทั�งหมด ๗ บิต่ขีองเลขีที�อย้่ดังกล่าว ในที�นี� (ภาพื่ที� ๔) ขีั�วทั�งสามมีค่าต่รรกะเป็็น “0” เพื่ราะ
ทุกขีั�วต่่างก็ต่่อลงกราวนด์ร่วมกับขีั�ว GND (ขีา 4) การที�อีอีพื่ร็อมแบบอนุกรม AT24C256 มีขีั�ว A2, A1, A0
รวม ๓ ขีั�วไว�ให�เล่อกรับต่รรกะได�ขีั�วละ ๒ ค่า ค่อ “0” หร่อ “1” นั�นแสดงว่า เราสามารถต่่ออีอีพื่ร็อมเบอร์
ดังกล่าวเขี�าไป็ในขี่ายวงจรเดียวกันได�มากที�สุดถ่ง ๒ x ๒ x ๒ = ๘ หน่วย โดยที�แต่่ละหน่วยมีเลขีที�อย้่แต่กต่่างกัน
ไป็ ขีั�วต่่อที�เหล่ออีก ๒ ขีั�วทางด�านขีวาขีองอีอีพื่ร็อมก็ค่อขีั�ว WP (ขีา 7) และขีั�ว Vcc (ขีา 8) สำหรับขีั�ว WP
(write protect) นั�น หากต่่อกับแรงดันไฟฟ้า ๕ โวลต่์ จะป็้องกันการเขีียนขี�อม้ลซึ่�ำ แต่่ในที�นี�ขีั�วดังกล่าวถ้กต่่อ
ลงกราวนด์เพื่่�อให�เขีียนขี�อม้ลซึ่�ำได�ต่ลอดเวลา ส่วนขีั�ว Vcc ต่่อกับแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า ๕ โวลต่์ต่ามป็รกต่ิ
เกณฑ์์วิธีี I2C สำหรับการส่ง-รับข่�อม้ลแบบอนุกรม
เกณฑ์์วิธีีทางซึ่อฟต่์แวร์สำหรับการส่ง-รับขี�อม้ลระหว่างต่ัวควบคุมหร่อไมโครคอนโทรลเลอร์แม่ขี่ายกับ
อุป็กรณ์รอบขี�างหร่ออุป็กรณ์ล้กขี่ายในระบบ I2C นั�น มีขีั�นต่อนในการส่ง (เขีียน) ขี�อม้ลจากแม่ขี่ายไป็ยังล้กขี่าย
ที�สรุป็ได�ดังนี� (Robot Electronics, 2017)
๑. แม่ขี่ายส่งสัญญาณ “ลำดับเริ�ม” (start sequence) โดยให�สายสัญญาณ SDA เป็ลี�ยนค่าต่รรกะ
จาก “1” (แรงดันไฟฟ้า ๕ โวลต่์) ไป็เป็็น “0” (แรงดันไฟฟ้า ๐ โวลต่์) ในระหว่างที�สายสัญญาณ SCL มีค่าต่รรกะ
เป็็น “1” ดังที�แสดงด�วยแผนภาพื่ในภาพื่ที� ๕ ทั�งนี�เพื่่�อเต่่อนอุป็กรณ์ล้กขี่ายทุกต่ัวให�เต่รียมพื่ร�อมสำหรับการ
ถ่ายโอนขี�อม้ล
ภาพื่ที� ๕ แผนภาพื่สัญญาณ SDA และ SCL สำหรับสัญญาณ “ลำดับเริ�ม”
"1"
SDA
"0"
"1"
SCL
"0"