Page 9 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 9

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                               ปีีท่� ๔๙ ฉบัับัท่� ๑ มกิราคุม-เมษาย์น ๒๕๖๗

                    ศาสตราจารย์์กิิตติคุุณ ดร.มงคุล เดชนคุรินทร์                                           7



                         ในสังคมสมัยให็ม่ที�ผู้้�คนให็�ความสำคัญกับเรื�องชื�อตัว ชื�อสกุลเป็็นอันมาก บทความเรื�อง “นโยบายของ

                  รัฐในการตั�งชื�อตัว และชื�อสกุลของป็ระเทศไทยและนานาชาติ” ของ ศิาสตราจารย์ ด็ร.วรเด็ช จันิทรศิร
                  แสดงให็�เห็็นถูึงการพัฒินานโยบายของรัฐในด�านห็ลักเกณฑิ์และวัตถูุป็ระสงค์การตั�งชื�อสกุลและชื�อตัวโดย

                  เทียบเคียงกับป็ระชาคมนานาชาติ ป็ัญห็าในการนำไป็ป็ฏิบัติของป็ระเทศไทย และข�อเสนอแนะในการป็รับป็รุง
                  พัฒินานโยบาย


                         “ทุ่งกุลาร�องไห็�” เป็็นคำที�คนไทยร้�จักกันทั�วไป็ แต่น�อยคนที�จะทราบว่ากุลาคือใคร ในบทความเรื�อง
                  “การกลืนกลายชาติพันธิุ์: กรณีกุลาในภาคอีสานของไทย” รองศิาสตราจารย์ ด็ร.ชาย โพธิิสิตา นำข�อม้ลจาก
                  การศึกษาค�นคว�ามาเสนอว่าชาวกุลาเป็็นกลุ่มชาติพันธิุ์ต�องส้�และไทให็ญ่จากพม่า (เมียนมา) ที�เข�ามาเร่ขาย

                  สินค�าในชนบทอีสานในอดีต และกล่าวถูึงสาเห็ตุป็ัจจัยที�ทำให็�วัฒินธิรรมซึ่ึ�งเป็็นเอกลักษณ์ของชนชาวกุลา

                  ถู้กกลืนกลายจนค่อย ๆ จางลงจนห็มดไป็ในที�สุดอย่างยากที�จะอนุรักษ์ห็รือฟ้�นฟ้

                         ป็ระเทศมาเลเซึ่ียมีลักษณะทางสังคมแบบพห็ุสังคมที�มีความห็ลากห็ลายทางชาติพันธิุ์ ผู้้�ที�ได�รับสถูานะ
                  ภ้มิบุตรห็รือบุตรของแผู้่นดินจะได�รับสิทธิิต่าง ๆ มากกว่าผู้้�ที�ไม่ได�รับสถูานะ ศิาสตราจารย์ ด็ร.ครองชัย หัตถา

                  เขียนบทความเรื�อง “ชาวสยามในป็ระเทศมาเลเซึ่ียกับสถูานะภ้มิบุตร” กล่าวถูึงชาวสยามที�อาศัยอย้่ทั�วไป็ใน
                  คาบสมุทรมาลายา ซึ่ึ�งบางแห็่งมีวัฒินธิรรมภาษาที�น่าสนใจ และเขียนถูึงชาวสยามที�นับถูือพระพุทธิศาสนาใน

                  ป็ระเทศมาเลเซึ่ียซึ่ึ�งรัฐบาลเพิ�งพิจารณาให็�ได�รับสถูานะภ้มิบุตร ทำให็�ได�รับสิทธิิด�านต่าง ๆ เพิ�มขึ�นกว่า
                  แต่ก่อนเป็็นอันมาก

                         สำนิักศิิล้ปกรรม


                         มหากาพย์เสานทรนันทะของอัศวโฆษเป็็นกวีนิพนธิ์สันสกฤตที�งดงามมากเรื�องห็นึ�ง มีเนื�อห็าว่าด�วย
                  การที�พระพุทธิเจ�าทรงใช�พุทธิกุศโลบายและห็ลักพุทธิธิรรมเป็็นลำดับทำให็�เจ�าชายนันทะผู้้�ตกอย้่ในกามกิเลส

                  แรงกล�าสามารถูเอาชนะกิเลสและบรรลุนิรวาณในที�สุด รองศิาสตราจารย์ ด็ร. สำเนิียง เล้่�อมใส เขียนบทความ
                  เรื�อง “พุทธิธิรรมนำทางส้่นิรวาณ: กรณีศึกษามห็ากาพย์เสานทรนันทะของอัศวโฆษ” ไว�โดยละเอียดเพื�อชี�ให็�

                  เห็็นคุณค่าทางป็ัญญาอย่างสมบ้รณ์ด�านพระพุทธิศาสนาของมห็ากาพย์เรื�องนี�

                         บทความเรื�อง “ดนตรีพรรณนา” ศิาสตราจารย์ ด็ร.ณัชชา พันิธิุ์เจริญ ให็�ความร้�ความเข�าใจเกี�ยวกับ

                  ศัพท์คำนี�ว่าเป็็นป็ระเภทห็นึ�งของดนตรีคลาสสิก มีความห็มายตรงกันข�ามกับดนตรีบริสุทธิิ� เป็็นเส�นแบ่ง
                  ระห็ว่างดนตรีในยุคก่อนโรแมนติกกับดนตรียุคโรแมนติก และมีบทบาทสำคัญในการพัฒินาดนตรีในอารยธิรรม
                  ตะวันตกตั�งแต่ยุคโรแมนติกเป็็นต�นมา
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14