Page 94 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 94
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที� ๔๘ ฉบัับัที� ๒ พฤษภาคีม-สิงหาคีม ๒๕๖๖
82 ภาคีีสมาชิิก ๑๑ คีนแรกของสำนักวิิทยาศาสตร์ ราชิบััณฑิิตยสภา
ศาสตราจารย์คีนไทยคีนแรก
คงไมี่น่าแปล้กใจถ้าภาค่สมีาชิกชุด้แรกน่�จะมี่คนใด้คนห้น้�งได้้รับัแต่งตั�งเป็นศาสตราจารย์คนไทยคนแรก
ปรากฏิว่าขึ้้อมี้ล้ท่�ส่บัค้นในอินเทอร์เน็ตจะกล้่าวถ้งศาสตราจารย์ ห้มี่อมีเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล้ แมี้แต่ห้นังส่อ
อนุสรณ์งานพระราชทานเพล้ิงศพขึ้องพระองค์ท่านก็ระบัุเช่นนั�น (อนุสรณ์ฯ, ๒๔๙๓; สล้ับั ล้ด้าวัล้ย์, ๒๕๐๒)
อย่างไรก็ตามี ขึ้้อมี้ล้ในห้นังส่อ ๑๒๐ ปี ศิริราช ระบัุว่า พระอัพภันตราพาธิพิศาล้ (กำจร พล้างก้ร) ราชบััณฑิิต
กิตติมีศักด้ิ�เป็นศาสตราจารย์คนไทยคนแรก (วิเช่ยร ทองแตงแล้ะคณะ, ๒๕๕๔) เมี่�อทำการส่บัค้นเอกสารแล้้ว
พบัประกาศสำนักนายกรัฐมีนตร่ เร่�อง แต่งตั�งศาสตราจารย์คณะอักษรศาสตร์แล้ะวิทยาศาสตร์ในจุฬาล้งกรณ์
มีห้าวิทยาล้ัย เมี่�อวันท่� ๒๕ กุมีภาพันธิ์ ๒๔๘๕ โด้ยมี่พระบัรมีราชโองการโปรด้เกล้้าฯ แต่งตั�งให้้ห้มี่อมีเจ้า
รัชฎาภิเศก โสณกุล้ ขึ้้าราชการพล้เร่อนชั�นพิเศษ อธิิบัด้่กรมีอาช่วะศ้กษา ด้ำรงตำแห้น่งศาสตราจารย์คณะ
อักษรศาสตร์แล้ะวิทยาศาสตร์ในจุฬาล้งกรณ์มีห้าวิทยาล้ัย กระทรวงศ้กษาธิิการ ตั�งแต่วันท่� ๑๘ กุมีภาพันธิ์
๒๔๘๕ เป็นต้นไป (ราชกิจจานุเบักษา, ๒๔๘๕) ซึ่้�งเป็นประกาศแต่งตั�งศาสตราจารย์ท่�ย้อนห้ล้ังไปได้้มีากท่�สุด้
เท่าท่�เว็บัไซึ่ต์ค้นห้าราชกิจจานุเบักษาจะมี่ให้้ส่บัค้นได้้ ทำให้้คนทั�วไปเขึ้้าใจกันว่า ห้มี่อมีเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล้
เป็นศาสตราจารย์คนไทยคนแรก แต่สำห้รับัประวัติศาสตร์การแพทย์ขึ้องคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบัาล้
มีห้าวิทยาล้ัยมีห้ิด้ล้นั�น เป็นท่�ทราบักันด้่ว่า ศาสตราจารย์คนไทยคนแรก ค่อ พระอัพภันตราพาธิพิศาล้ ราชบััณฑิิต
กิตติมีศักด้ิ� แมี้จะห้าเอกสารท่�เป็นประกาศในราชกิจจานุเบักษาไมี่พบัด้ังท่�ได้้กล้่าวไปแล้้วขึ้้างต้น แต่ในห้นังส่อ
เวชชนิสสิตเล้่มีท่� ๒ พ.ศ. ๒๔๗๘ ได้้มี่ร้ปถ่ายขึ้องพระอัพภันตราพาธิพิศาล้พร้อมีคำบัรรยายใต้ร้ประบัุชัด้เจนว่า
ท่านเป็นศาสตราจารย์ แล้ะมี่ท่านเพ่ยงคนเด้่ยวท่�เป็นศาสตราจารย์คนไทย (ร้ปท่� ๒) (เวชชนิสสิต, ๒๔๗๘)
ห้ล้ังจากนั�น เวชชนิสสิตเล้่มีท่� ๓ พ.ศ. ๒๔๘๒ (ฉบัับัท่�ระล้้กงานฉล้อง ๕๐ ปี พ.ศ. ๒๔๓๒-๒๔๘๒) ได้้ให้้ขึ้้อมี้ล้
ว่าห้ล้วงเฉล้ิมีคัมีภ่รเวชช์ได้้เป็นศาสตราจารย์อ่กคนห้น้�งด้้วย (เวชชนิสสิต, ๒๔๘๒) ด้ังนั�น ศาสตราจารย์เฉล้ิมี
พรมีมีาส ราชบััณฑิิต จ้งเป็นศาสตราจารย์คนไทยคนท่� ๒ โด้ยก่อนห้น้าน่� ในเวชชนิสสิตเล้่มีแรก พ.ศ. ๒๔๗๓
ตำแห้น่งทางวิชาการขึ้องทั�ง ๒ ท่าน ค่อ รองศาสตราจารย์คนไทย ๒ คนแรก (เวชชนิสสิต, ๒๔๗๓) แล้ะ
พ.ศ. ๒๔๘๒ ทั�ง ๒ ท่านเป็นศาสตราจารย์ท่�มี่อย้่ในขึ้ณะนั�นขึ้องไทย (เวชชนิสสิต, ๒๔๘๒)
หน้าที�การงานและผลงานของภาคีีสมาชิิกทั�ง ๑๑ คีนโดยสังเขป
(ห้มีายเห้ตุ : มีากน้อยต่างกันไปสุด้แล้้วแต่การส่บัค้นห้าขึ้้อมี้ล้เท่าท่�จะห้าได้้)
๑) ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้ารัชิฎาภิเศก โสณกุล
อธิิการบัด้่ จุฬาล้งกรณ์มีห้าวิทยาล้ัย ควบัตำแห้น่งคณบัด้่ คณะรัฐศาสตร์ (๒๔๙๑) แล้ะรักษาการตำแห้น่ง
คณบัด้่ คณะพาณิชยศาสตร์แล้ะการบััญช่ (๒๔๙๒) แทนคณบัด้่ท่�ล้าป่วย
ก่อนห้น้าน่� อาจารย์เอกในคณะอักษรศาสตร์แล้ะวิทยาศาสตร์ (๒๔๗๒) ต่อมีา เป็นผู้้้ช่วยอธิิบัด้่กรมีวิชาการ
(๒๔๗๓) ต่อมีา ย้ายกล้ับัมีาเป็นคณบัด้่ คณะอักษรศาสตร์แล้ะวิทยาศาสตร์ (๒๔๗๕-๒๕๗๘) ควบัห้ัวห้น้า
แผู้นกคณิตศาสตร์ในกรมีวิชาการ เคยด้ำรงตำแห้น่งอธิิบัด้่กรมีมีห้าวิทยาล้ัย (๒๔๗๗) ควบัอธิิบัด้่กรมี