Page 96 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 96
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที� ๔๘ ฉบัับัที� ๒ พฤษภาคีม-สิงหาคีม ๒๕๖๖
84 ภาคีีสมาชิิก ๑๑ คีนแรกของสำนักวิิทยาศาสตร์ ราชิบััณฑิิตยสภา
๔) หลวิงจุลชิีพพิชิชิาธร (จุล วิัจนะคีุปต์)
อำมีาตย์โท อธิิบัด้่กรมีการประมีง กระทรวงเกษตราธิิการ (๒๔๘๕), สมีาชิกวุฒิิสภา (๒๔๙๓-๒๔๙๔),
กรรมีการวิสามีัญพิจารณาร่างพระราชบััญญัติว่าด้้วยสิทธิิจับัสัตว์น้�าสยามี พุทธิศักราช ๒๔๗๗ แล้ะร่าง
พระราชบััญญัติว่าด้้วยการจด้ทะเบั่ยนแล้ะออกใบัอนุญาตสำห้รับัเร่อจับัสัตว์น้�าสยามี พุทธิศักราช ๒๔๗๗,
กรรมีการสอบัคัด้เล้่อกผู้้้สมีัครสอบัแขึ้่งขึ้ันทุนเล้่าเร่ยนห้ล้วง (๒๔๗๘-๒๔๘๐), กรรมีการพิจารณาพระราช-
บััญญัติท่�ด้ิน (๒๔๘๑) (อนุสรณ์ฯ, ๒๕๑๙)
๕) ศาสตราจารย์ พระอัพภันตราพาธพิศาล (กำจร พลางกูร)
ราชบััณฑิิตกิตติมีศักด้ิ� (ตั�งแต่ ๒๕๒๓), ห้ัวห้น้าแผู้นกอายุรกรรมีคนไทยคนแรกขึ้องโรงพยาบัาล้ศิริราช
(๒๔๗๓), คณบัด้่ คณะแพทยศาสตร์ ห้ัวห้น้าแผู้นกอายุรศาสตร์ แล้ะห้ัวห้น้าแผู้นกกายวิภาคศาสตร์ (๒๔๘๑),
อธิิบัด้่กรมีมีห้าวิทยาล้ัยแพทยศาสตร์ กระทรวงสาธิารณสุขึ้คนแรก (๒๔๘๕-๒๔๘๘), สมีาชิกวุฒิิสภา
(๒๔๙๑-๒๔๙๕) (วิเช่ยร ทองแตง แล้ะคณะ, ๒๕๕๔; จินตนา ศิรินาวิน แล้ะทองน่าน วิภาตะวณิช,
๒๕๒๘; สัญญา สุขึ้พณิชนันท์, ๒๕๖๕)
ท่านเป็นผู้้้มี่ผู้ล้งานต่พิมีพ์จำนวนมีากในสมีัยนั�น เป็นผู้้้รายงานโรคเป็นครั�งแรกห้ล้ายโรค รวมีทั�ง
“โรคห้ัวใจท่�พบับั่อยในประเทศไทย” รวบัรวมีคนไขึ้้ ๕๓๐ ราย นับัเป็นรายงานระบัาด้วิทยาโรคห้ัวใจ
ฉบัับัแรกขึ้องประเทศไทย (วิเช่ยร ทองแตง แล้ะคณะ, ๒๕๕๔)
เป็นคนแรกท่�ใช้คำว่า “การวินิจฉัย” สำห้รับัคำว่า “Diagnosis” ในรายงานโรคแปล้กท่�ไส้โค้งท่�รายงาน
กับั อ.เอล้ล้ิส ในจด้ห้มีายเห้ตุทางแพทย์ขึ้องสภากาชาด้แห้่งกรุงสยามี ๒๔๖๒ (อัล้เล้อร์ เอล้ล้ิส แล้ะกำจร
พล้างก้ร, ๒๔๖๒; สัญญา สุขึ้พณิชนันท์, ๒๕๖๖)
๖) ศาสตราจารย์ นายแพทย์เฉลิม พรมมาส
ค้นพบัวงจรช่วิตพยาธิิตัวจ่�ด้ร่วมีกับัศาสตราจารย์ นายแพทย์สวัสด้ิ� แด้งสว่าง ต่พิมีพ์ใน Journal of
Parasitology เมี่�อ พ.ศ. ๒๔๗๖ นับัเป็นครั�งแรกท่�มี่ผู้ล้งานทางแพทย์ต่พิมีพ์โด้ยคนไทยล้้วนในวารสาร
ระด้ับันานาชาติ ทำให้้แพทย์แล้ะนักวิจัยทั�วโล้กร้้จักประเทศไทย (สัญญา สุขึ้พณิชนันท์, ๒๕๕๙)
อธิิบัด้่กรมีวิทยาศาสตร์การแพทย์คนแรก (๒๔๘๕-๒๔๘๘), อธิิบัด้่กรมีมีห้าวิทยาล้ัยแพทยศาสตร์
(๒๔๘๘-๒๕๐๐), รัฐมีมีนตร่ว่าการกระทรวงสาธิารณสุขึ้ (๒๓ กันยายน ๒๕๐๐-๒๖ ธิันวาคมี ๒๕๐๐ แล้ะ
๑ มีกราคมี ๒๕๐๑-๒๐ ตุล้าคมี ๒๕๐๑) มี่บัทบัาทสำคัญในการก่อตั�งโรงเร่ยนแพทย์แห้่งท่� ๒ แล้ะ ๓
ขึ้องประเทศ ค่อ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบัาล้จุฬาล้งกรณ์ มีห้าวิทยาล้ัยแพทยศาสตร์ แล้ะคณะ
แพทยศาสตร์โรงพยาบัาล้นครเช่ยงให้มี่ มีห้าวิทยาล้ัยแพทยศาสตร์ นอกจากน่� ยังมี่บัทบัาทสำคัญในการ
ก่อตั�งคณะสาธิารณสุขึ้ศาสตร์ มีห้าวิทยาล้ัยแพทยศาสตร์ (คณะสาธิารณสุขึ้ศาสตร์ มีห้าวิทยาล้ัยมีห้ิด้ล้
ในปัจจุบััน), คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีห้าวิทยาล้ัยแพทยศาสตร์ (คณะวิทยาศาสตร์ มีห้าวิทยาล้ัยมีห้ิด้ล้
ในปัจจุบััน), แล้ะโรงเร่ยนเทคนิคการแพทย์ (คณะเทคนิคการแพทย์ มีห้าวิทยาล้ัยมีห้ิด้ล้ในปัจจุบััน)
(สัญญา สุขึ้พณิชนันท์, ๒๕๕๙; สัญญา สุขึ้พณิชนันท์, ๒๕๖๕)