Page 12 - พจนานุกรมศัพท์การหล่อโลหะ
P. 12
ศัพท์บัญญัติประเภทนี้คำ�เทียบไทย-อังกฤษ จะใช้เครื่องหม�ยอัฒภ�ค (;)
คั่นระหว่�งศัพท์แทนตัวเลข เช่น
การแต่งแบบหล่อสำาเร็จ; ผิวสำาเร็จ; finish
ส่วนเผื่อตัดปาด
๒.๒.๕ ศัพท์ภ�ษ�อังกฤษที่มีคว�มหม�ยเหมือนกันแต่ใช้ศัพท์บัญญัติต่�ง
กัน จะตั้งคำ�อธิบ�ยศัพท์ไว้ที่ลำ�ดับศัพท์ซึ่งรู้จักกันแพร่หล�ยหรือใช้ม�กกว่� และ
จะอ้�งอิงถึงกันโดยใช้ข้อคว�ม “[มีความหมายเหมือนกับ...]” ไว้ท้�ยคำ�อธิบ�ย
ของศัพท์นั้น ส่วนศัพท์ที่นิยมใช้น้อยกว่� จะเก็บไว้ที่ลำ�ดับอักษรนั้น ๆ โดยไม่ต้อง
เขียนคำ�อธิบ�ย แต่ให้ดูคำ�อธิบ�ยที่ศัพท์ซึ่งใช้กันแพร่หล�ยม�กกว่� เช่น
gate; ingate ทางเข้านำ้าโลหะ : ช่องท�งวิ่งของนำ้�โลหะตั้งแต่
แอ่งเทจนถึงโพรงแบบหล่อแต่ละส่วน หรือหม�ยถึงท�งนำ้�
โลหะทั้งหมดในระบบจ่�ยนำ้�โลหะก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับก�รใช้
ง�นหรือวิธีก�รสร้�ง [มีความหมายเหมือนกับ branch gate]
branch gate ทางเข้านำ้าโลหะย่อย : ดู gate; ingate
๒.๒.๖ ศัพท์ภ�ษ�อังกฤษที่ไม่ได้มีคว�มหม�ยเหมือนกัน แต่มีคว�มหม�ย
ใกล้เคียงกัน ซึ่งคำ�อธิบ�ยศัพท์ประสงค์จะให้ดูประกอบเพื่อให้มีคว�มรู้เพิ่มเติม
ให้วงเล็บว่� “[ดู ... ประกอบ]” ไว้ เช่น
grain fineness number (GFN) เลขขนาดเม็ด (จีเอฟเอ็น) :
ค่�เฉลี่ยของขน�ดเม็ดทร�ย [ดู sieve analysis; screen
analysis ประกอบ]
๒.๒.๗ ห�กศัพท์ที่เป็นคำ�หลักได้อธิบ�ยคว�มหม�ยย่อย ๆ ไว้แล้ว และ
ไม่ประสงค์จะอธิบ�ยซำ้�อีกที่ศัพท์ย่อย ให้เขียนที่ลำ�ดับศัพท์ย่อยนั้นว่�ให้ไปดูที่
คำ�หลัก โดยระบุว่� “ดูค�าอธิบายใน...” เช่น
bob บ็อบ : ส่วนหนึ่งในระบบป้อนเติมและจ่�ยนำ้�โลหะ
เข้�สู่แบบหล่อซึ่งมี รูปร่�งเหมือนกระเป�ะหรือทรงกลม มีอยู่
๒ ส่วน คือ
(10)