Page 31 - 47-3
P. 31

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๓ กัันยายน–ธัันวาคม ๒๕๖๕
             ศาสตราจารย์์ ดร.อานััฐ ตันัโช                                                   23


             ในเวัลาต่อิมาพบวั่าสายพันธิุ์ขี�ตาแรี่มีมากในบรีิเวัณฟารี์มวััวันมที�อิำาเภอิสันกำาแพง จังหวััดุเชุียงใหม่

             รีวัมทั�งในพื�นดุินรีอิบ ๆ บรีิเวัณที�ล้างจานขอิงรี้านก๋วัยเตี�ยวัแห่งหน้�งในอิำาเภอิเมือิง จังหวััดุลำาปาง

             ศูนย์วัิจัยฯ จ้งไดุ้เก็บรีวับรีวัมสายพันธิุ์จากฟารี์มวััวัในอิำาเภอิสันกำาแพง ชุื�อิขอิงสายพันธิุ์ดุังกล่าวัมาจาก
             ชุื�อิที�ชุาวับ้านเรีียกกันวั่า “ขี�ตาแรี่” (Perionyx sp.1) ซิ้�งน่าจะหมายถ้งดุินที�สมบูรีณ์จากไส้เดุือินดุิน
             ถ่ายมูลอิอิกมาเพิ�มแรี่ธิาตุลงสู่เนื�อิดุิน สายพันธิุ์ดุังกล่าวัถูกนำาจากอิำาเภอิสันกำาแพงมาเพาะเลี�ยง

             จ้งเรีียกกันติดุปากในเวัลาต่อิมาวั่า “ขี�ตาแรี่สันกำาแพง” เป็นสายพันธิุ์เดุียวักันกับขี�ตาแรี่ คือิ

             Perionyx sp.1 ซิ้�งรีะบุสายพันธิุ์ดุ้วัยวัิธิีทางสัณฐานวัิทยา
                     ไส้เดุือินดุินไทยสายพันธิุ์ขี�ตาแรี่นี�มีเอิกลักษณ์เฉี่พาะตัวัดุังที�นำาเสนอิข้างต้น และใชุ้ส่งเสรีิมให้
             เกษตรีกรีในปรีะเทศไทยเพาะเลี�ยงเพื�อิกำาจัดุขยะในครีัวัเรีือินและในรีะดุับอิุตสาหกรีรีมสำาหรีับผลิต

             ปุ�ยหมักมูลไส้เดุือินดุินและปัสสาวัะไส้เดุือินที�เกษตรีกรีไทยใชุ้กันอิย่างแพรี่หลายดุังที�ผู้อิ่านไดุ้พบเห็น

             ในท้อิงตลาดุ นอิกจากเอิกลักษณ์ดุังกล่าวัแล้วั ไส้เดุือินดุินขี�ตาแรี่สันกำาแพงหรีือิ Perionyx sp. 1
             ยังมีข้อิมูลจากการีนำามาทดุสอิบการีกินขยะรีะดุับเชุิงการีค้า โดุยเปรีียบเทียบกับสายพันธิุ์เชุิงการีค้า
             สายพันธิุ์อิื�น ๆ อิีก ๓ สายพันธิุ์ที�นำาเข้ามาเลี�ยงในปรีะเทศไทย คือิ สายพันธิุ์ไทเกอิรี์ (Tiger worm)

             สายพันธิุ์เรีดุไทเกอิรี์ (Red tiger worm) และสายพันธิุ์แอิฟรีิกันไนต์ครีอิวั์เลอิรี์ (African night crawler)

             หรีือิเอิเอิฟ (AF)  ผลการีศ้กษาขอิงศูนย์ฯ ชุี�ให้เห็นวั่า สายพันธิุ์ขี�ตาแรี่สันกำาแพงที�สำารีวัจนี�สามารีถย่อิย
             สลายขยะอิินทรีีย์ไดุ้ดุีเทียบเท่ากับสายพันธิุ์การีค้าที�นำาเข้ามาเลี�ยงจากต่างปรีะเทศ และเมื�อิตรีวัจมูลที�
             ไดุ้ก็พบวั่ามีธิาตุอิาหารีพืชุ N P K สูงกวั่ารี้อิยละ ๕๐ และโดุยที�ไส้เดุือินดุินขี�ตาแรี่มีข้อิไดุ้เปรีียบ

             หลายปรีะการี ทำาให้เหมาะแก่การีนำามาเพาะเลี�ยง ไดุ้แก่ ควัามสามารีถทนต่อิสภาพการีเลี�ยงที�ใส่ขยะ

             อิินทรีีย์ไดุ้หลากหลายปรีะเภท และทนต่อิสภาพอิากาศรี้อินชุื�นไดุ้ดุีตลอิดุปีมากกวั่าสายพันธิุ์การีค้าอิื�น
             อิย่างชุัดุเจน  ในเวัลาต่อิมาศูนย์ฯ ไดุ้นำาไส้เดุือินดุินขี�ตาแรี่สันกำาแพง (Perionyx sp.1) ไปส่งเสรีิม
             การีเลี�ยงเพื�อิกำาจัดุขยะที�สถานีเกษตรีหลวังอิ่างขาง ซิ้�งเป็นพื�นที�สูงกวั่ารีะดุับนำ�าทะเล ๑,๔๐๐ เมตรี

             แต่กลับพบวั่าไส้เดุือินดุินสายพันธิุ์ขี�ตาแรี่สันกำาแพงดุังกล่าวัไม่สามารีถปรีับตัวัและไม่กินขยะในฤดุูหนาวั

             ที�อิุณหภูมิลดุตำ�าลงกวั่า ๑๐ อิงศาเซิลเซิียส ศูนย์ฯ จ้งเข้าพื�นที�ดุังกล่าวัเพื�อิสำารีวัจหาสายพันธิุ์
             ไส้เดุือินดุินที�จะสามารีถแก้ไขปัญหาดุังกล่าวัไดุ้  ในการีสำารีวัจในครีั�งนั�นคณะวัิจัยไดุ้พบไส้เดุือินดุิน
             สายพันธิุ์ขี�ตาแรี่อิีกสายพันธิุ์หน้�งในสกุล Perionyx เชุ่นเดุียวักันกับสายพันธิุ์ขี�ตาแรี่สันกำาแพง

             (Perionyx sp.1) แต่มีสมบัติทนต่อิอิุณหภูมิตำ�าไดุ้ คณะวัิจัยจ้งเรีียกสายพันธิุ์ดุังกล่าวัวั่า ขี�ตาแรี่อิ่างขาง

             หรีือิ Perionyx sp.2 แต่ยังไม่ไดุ้พิสูจน์วั่ามีควัามแตกต่างทางพันธิุกรีรีมในรีะดุับดุีเอิ็นเอิจากขี�ตาแรี่
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36