Page 103 - 45-3
P. 103

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                              ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๓  กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๓

                 ศาสตราจารย์์กิิตติคุุณสุกิัญญา สุดบรรทััด                                        95


                 นิวพัอร์ต่เสนอให้เสพัส่�อแต่่น้อยี  แต่่เสพัอยี่างมีคุณ์ค่า  จะทำาให้เราได้ยีินเสียีงอ้งอลในสังคมน้อยีลงและ

                 หันมาหาต่ัวเองให้มากข้�น โดยีหันไปัใช้การส่�อสารระหว่างมนุษยี์ด้วยีกันมากข้�น ไม่ว่าจะด้วยีการพับัปัะ
                 หร่อแม้แต่่ด้วยีวิดีโอคอล ซ้�งเราสามารถสังเกต่เห็นกริยีาท่าทาง สีหน้า หร่อจับักระแสโทนเสียีง ต่่างจาก

                 ส่�อโซเชียีลทั�วไปัซ้�งเปั็นเพัียีง “การเช่�อมต่่อ” เท่านั�น ซ้�งไม่สามารถทดแทนการสนทนาระหว่างมนุษยี์
                 ที�แท้จริงได้ ไม่สามารถสร้างความร่�นรมยี์จากการปัฏิสันถารด้วยีสันต่ิภัาพัระหว่างมนุษยี์ได้ มนุษยี์

                 สามารถเดินออกมาจากห้องแล็บัที�กำาลังปัล่อยีให้เคร่�องจักรควบัคุมโลก ปัลดปัล่อยีต่ัวเองออกจาก
                 ความชุลมุนที�เรียีกว่า “declutter” และกลับัมาส่�อสารกับัต่ัวเองโดยีสงบั ไม่ต่้องรู้ส้กว่าต่นถูกท่วมทับั

                 โดยีของที�หนักอ้�ง และกลับัมาควบัคุมต่นเองได้
                              กรณ์ีการแพัร่กระจายีของโรคต่ิดเช่�อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ การรักษาระยีะห่างทาง

                 สังคม (social distance) เปั็นความจำาเปั็น อาจนำามาใช้ได้กับัการแพัร่กระจายีเช่�อทางข่าวสารซ้�ง
                 เปั็นอันต่รายี เม่�อคนค่อยี ๆ ถอนต่ัวจากกลุ่มสนทนาทั�งออฟไลน์และออนไลน์ที�ส่อแสดงการยีั�วยีุ

                 อารมณ์์เปั็นปัฏิปัักษ์ รักษาระยีะห่างจากเพั่�อนในห้องสะท้อนเสียีง ต่ั�งข้อสงสัยีส่�อมวลชนที�เอนเอียีง
                 แยีกมาอยีู่กับัต่ัวเอง ความมีสต่ิที�เกิดข้�นจากการใคร่ครวญ วิเคราะห์วิจารณ์์ข่าวสารที�หลั�งไหลเข้ามา

                 ถ้งต่ัวว่าสิ�งใดมีค่าหร่อไร้ค่า เปั็นการส่�อสารกับัภัายีในต่ัวเองที�เรียีกว่า Intra-Communication หยีุด
                 ต่ัวเองก่อนกระโจนลงไปัในสนามของวาทกรรมเกลียีดชัง กดไลก์กดแชร์ ลดระดับัการมองเห็นผู้อ่�น

                 ที�เราต่้องลงไปัสู่สนามการต่่อสู้
                              เคืรื�องจิักรทำาร้ายเรานั้อยลง พิษภัยเข้ามาห้าตัวเรานั้อยลง เมื�อสำื�อสำารกับัผ้้อื�นันั้อยลง

                 ในัขณะเด็ียวกันัก็บั่มเพาะสำำานัึกของจิิตอาสำาและสำื�อสำารกับัตัวเองให้้มากขึ�นั

                 เอกิสารอ้างอิง

                 Allport, G. W. and Postman, L. (1947). The psychology of rumor. New York: Henry Holt.
                 Bradshaw, S. (2019). The Global Disinformation Order. A Report, Computational

                          Propaganda Research Project: Oxford University.
                 Claire Wardle and Hossein Derakhshan. (2017). Information Disorder: Toward an

                          interdisciplinary framework for research and policy making. Council of
                          Europe.

                 Newport, Cal. (2019). Digital Minimalism: Choosing a Focused Life in a Noisy World.
                          New York: Penguin.









                                                                                                  19/1/2565 BE   08:52
       _21-0851(076-096)4.indd   95                                                               19/1/2565 BE   08:52
       _21-0851(076-096)4.indd   95
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108