Page 99 - 45 2
P. 99

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                         ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๒  พฤษภาคม-สิิงหาคม ๒๕๖๓
             ศาสตราจารย์์ ร้อย์โท ดร.บรรจบ บรรณรุจิ                                          89



             เพื�อห้ามิเลือดิ และพอกกากขมิิ�นเพื�อสุมิานแผู้ล แลทั้าผู้งจันทั้น์ทั้ับเมิื�อผู้ิวทั้ี�เสุียไปกลับงอกขึ�นใหมิ่)
             ๑๐) สุวมิเคืรื�องประดิับมิือ ๑๐) เกล้าผู้มิจุก ๑๒) ถือไมิ้เทั้้าประดิับประดิาสุวยหรูหรือไมิ่ก็ยาว ๔ ศอก

             (ดิูน่ากลัว) ๑๓) คืล้องร่วมิยาทั้ี�ประดิับประดิาสุวยงามิดิ้วยรูปต่าง เชื่่น รูปหญิง รูปชื่าย ๑๔) คืาดิดิาบ

             ๑๕) คืาดิพระขรรคื์ ๑๖) กางร่มิเย็บดิ้วยดิ้าย ๕ สุี และประดิับประดิาดิ้วยฟันมิังกร เป็นต้น ๑๗) สุวมิ

             รองเทั้้าประดิับดิ้วยแก้วและแววหางนกยูง ๑๘) สุวมิอุณหิสุ (กรอบหน้า) ทั้ี�หน้าผู้าก (แสุดิงขอบเขต
             ชื่ายผู้มิยาว ๑ กำามิือ กว้าง ๔ นิ�ว) ๑๙) สุวมิแก้วมิณี ๒๐) ถือพัดิวาลวีชื่นี (พัดิขนจามิรี) ๒๑) ใชื่้ผู้้า

             ขาวไว้ชื่ายยาว (ทั้ี.สุี. ๙/๑๖/๘)

                           ๑.๓.๗  พูด้คุ้ย์ด้ิรัจฉานกถา ค้ือ พูด้เรื�องที่่�ไมิ่เปิ็นปิระโย์ชน์ต่อการพัฒนาตนแลัะ

             ค้นอื�น ซึ่ึ�งขัด้ขวางต่อค้วามิเจริญสุ่วนตนแลัะสุ่วนรวมิ ขัด้ขวางต่อการที่ำากิเลัสุให้สุงบ เชื่่น ๑) คืุย
             เรื�องพระราชื่า ๒) คืุยเรื�องโจร ๓) คืุยเรื�องมิหาอำามิาตย์ ๔) คืุยเรื�องกองทั้ัพ ๕) คืุยเรื�องภูัย ๖) คืุยเรื�อง

             การรบ ๗) คืุยเรื�องอาหารการกิน ๘) คืุยเรื�องนำ�าดิื�มิ ๙) คืุยเรื�องผู้้า ๑๐) คืุยเรื�องทั้ี�นอน ๑๑) คืุยเรื�อง

             พวงดิอกไมิ้ ๑๒) คืุยเรื�องของหอมิ ๑๓) คืุยเรื�องญาติ ๑๔) คืุยเรื�องยานพาหนะ ๑๕) คืุยเรื�องหมิู่บ้าน

             ๑๖) คืุยเรื�องนิคืมิ (แหล่งอุตสุาหกรรมิ) ๑๗) คืุยเรื�องเมิือง ๑๘) คืุยเรื�องแว่นแคืว้น ๑๙) คืุยเรื�องผูู้้หญิง
             ๒๐) คืุยเรื�องผูู้้ชื่าย ๒๑) คืุยเรื�องนักรบผูู้้กล้าหาญ ๒๒) คืุยเรื�องตรอกซึ่อกซึ่อย หรือคืุยซึุ่บซึ่ิบ

             ตามิตรอกตามิซึ่อย ๒๓) คืุยเรื�องทั้่านำ�า ๒๔) คืุยเรื�องญาติผูู้้ล่วงลับ ๒๕) คืุยเรื�องต่าง ๆ จากทั้ี�กล่าวมิาแล้ว

             ๒๖) คืุยเรื�องเกี�ยวกับสุัตว์โลกหรือผูู้้สุร้างโลก ๒๗) คืุยเรื�องทั้ะเล ๒๘) คืุยเรื�องเป็นหรือไมิ่เป็นอย่างนี�

             (ทั้ี.สุี. ๙/๑๗/๘)
                           ๑.๓.๘  พูด้เรื�องที่ำาให้เกิด้ค้วามิขัด้แย์้งหรือที่ำาให้เกิด้การแข่งขัน เชื่่น พูดิว่า

             ๑) เธอไมิ่รู้ธรรมิวินัยนี�จริง ผู้มิต่างหากทั้ี�รู้จริง ๒) ทั้่านหรือจะมิารู้ธรรมิวินัยนี�จริง ๓) ทั้่านปฏิบัติผู้ิดิ

             ผู้มิต่างหากปฏิบัติถูก ๔) คืำาพูดิของผู้มิมิีประโยชื่น์ คืำาพูดิของทั้่านไมิ่มิีประโยชื่น์เลย ๕) คืำาทั้ี�คืวร

             พูดิก่อนทั้่านก็พูดิทั้ีหลัง คืำาทั้ี�คืวรพูดิทั้ีหลังทั้่านก็พูดิก่อน ๖) ทั้่านมิัวแต่มิีพฤติกรรมิกลับไปกลับมิา
             (ตามิคืำาพูดิผู้มิ แสุดิงว่าไมิ่รู้อะไรเลย) ๗) วาทั้ะของทั้่านผู้มิคื้านให้เห็นว่าผู้ิดิไดิ้ ทั้่านถูกผู้มิข่มิ ๘) ทั้่าน

             จงไปแก้วาทั้ะของทั้่าน ๙) หรือแก้ตัวตอนนี�ก็ไดิ้ ถ้าสุามิารถ (ทั้ี.สุี. ๙/๑๘/๘-๙)
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104