Page 172 - 45 2
P. 172
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม-สิิงหาคม ๒๕๖๓
162 ข้้อมููลการบริโภคเคร่�องดื่่�มูแอลกอฮอล์และสููบบุหร่�
๑. นิิโคตินิ (nicotine)
สูารท่�ทำาให้คนติิดื่บุหร่� บุหร่� ๑ มวน ม่นิโคติิน ๐.๘-๑.๘ มิลลิกรัม ออกฤทธิิ�ติรงติ่อสูมอง
และกระติุ้นประสูาทสู่วนกลาง ถ้้าสููบ ๑-๒ มวนแรกจะรู้สูึกกระปร่�กระเปร่า ถ้้าสููบหลายมวนจะกดื่
ประสูาทสู่วนกลาง ทำาให้ความรู้สูึกช้าลง
สูารนิโคติินในควันบุหร่�จะถู้กดืู่ดื่ซึ่ึมเข้ากระแสูเล่อดื่ ม่ผลโดื่ยติรงติ่อติ่อมหมวกไติ
ทำาให้หลั�งอ่พิเนฟร่น (epinephrine) ทำาให้แรงดื่ันเล่อดื่สููง หัวใจเติ้นเร็ว หลอดื่เล่อดื่แขนขาหดื่ติัว
เพิ�มไขมันในเล่อดื่ บุหร่�ก้นกรองไม่ทำาให้ปริมาณนิโคติินลดื่ลง
๒. ทาร์หร่อนิำ�ามูันิดื่ินิ
ประกอบดื่้วยสูารหลายชนิดื่ท่�เกาะกันเป็นสู่นำ�าติาล ม่สูารพิษสูำาคัญท่�ก่อมะเร็งหลอดื่ลม
หลอดื่อาหาร ไติ และกระเพาะปัสูสูาวะ ซึ่ึ�งร้อยละ ๕๐ ของนำ�ามันดื่ินจะไปจับท่�ปอดื่ ทำาให้เกิดื่
การระคายเค่อง เป็นเหติุให้ไอเร่�อรัง คนท่�สููบบุหร่�วันละ ๑ ซึ่อง จะไดื่้นำ�ามันดื่ิน ๓๐ มิลลิกรัมติ่อมวน
หร่อ ๑๑๐ กรัมติ่อปี บุหร่�ไทยม่นำ�ามันดื่ิน ๑๒-๑๔ มิลลิกรัมติ่อมวน
๓. คาร์บอนิมูอนิอกไซดื่์
แก๊สูท่�ทำาให้เม็ดื่เล่อดื่แดื่งไม่สูามารถ้จับออกซึ่ิเจนไดื่้เท่าปรกติิ ทำาลายสูมบัติิการนำา
ออกซึ่ิเจน ทำาให้ร่างกายขาดื่ออกซึ่ิเจน เกิดื่อาการมึนงง ติัดื่สูินใจช้า เหน่�อยง่ายและเป็นสูาเหติุของ
โรคหัวใจหลอดื่เล่อดื่
๔. ไฮโดื่รเจนิไซย์าไนิดื่์
แก๊สูท่�ทำาลายเย่�อบุผิวหลอดื่ลมสู่วนบน ทำาให้ไอเร่�อรัง ม่เสูมหะเป็นประจำา ซึ่ึ�งมักไอ
ติอนเช้า
๕. ไนิโตรเจนิไดื่ออกไซดื่์
แก๊สูท่�ทำาลายเย่�อบุหลอดื่ลมสู่วนล่างและถุ้งลม ทำาให้ผนังบางลง เกิดื่การโป่งพอง
ถุ้งลมเล็ก ๆ หลายอันแติกรวมกันเป็นถุ้งลมใหญ่ ทำาให้ถุ้งลมดื่่ม่จำานวนน้อยลง หายใจเข้าออกไดื่้
อากาศน้อยลง เกิดื่อาการหอบ